《獅子王 The Lion King》在1994年上映時,佛雷德.拉德(Fred Ladd)接到一通來自舊金山的電話。一名記者劈頭就說,他懷疑《獅子王》抄襲了手塚治虫的《森林大帝 Kimba the White Lion》(1965-1967)。
.
佛雷德.拉德於是走進了戲院觀賞看看到底發生了什麼事。首先,他發現一隻智者山魈,嗯,《森林大帝》也有同個角色。然後又出現了一隻聒噪的鳥,OK,《森林大帝》也有。接著他又看到了反派鬣狗,他開始覺得不對勁了,心想如果再有雷同,肯定就是抄了。
.
看了五、六個幾乎與《森林大帝》完全相同的設定之後,場景到了小辛巴望向夜空。他盯著大銀幕,然後跟他太太說:「不要告訴我⋯⋯等等他爸爸的臉會出現在雲層中。」結果如同他所說,雲上真的出現了父王木法沙的面孔。
.
「《獅子王》確實抄襲了《森林大帝》。」拉德如此論定,宛如敲下了審判槌。
.
佛雷德.拉德是誰?他是將手塚治虫改編動畫引進美國的第一人。可說美國後來掀起的日本動漫熱潮,都要歸功他當時的絕佳眼光,所以他當然最有資格評論此事。
.
佛雷德.拉德出生俄亥俄州,職業生涯的前三十年都在紐約工作,雖然專業領域在影視,但他早年都在一間公司協助製作自然生態紀錄片。不過在1960年代,日本無法以美元支付購買版權的費用,於是他要求對方不妨提供一些動畫片來進行「交換」。只是他拿到這些作品片長多半落在30至50分鐘,不符合當時美國有線電視的片長,因此他還得另外重新包裝與剪輯,有時乾脆將卡通剪成電影長片送去戲院發行。
.
1963年,NBC以超低廉的價格買下了一個關於機器男孩的卡通,但沒人知道劇情關於什麼。他們找上了拉德,請他協助配音與重新包裝。最後他成功促使超過50間美國電視台購入了這個卡通,《原子小金剛 Astro Boy》因此正式打入美國市場。也因為《原子小金剛》在海外市場的大成功,使得東京的動畫公司如雨後春筍般湧現。
.
1965年,手塚治虫的公司虫製作主動找上了點石成金的佛雷德.拉德,他們製作了第一部彩色動畫,名叫《森林大帝》(台灣當時命名為《小獅王》),主角是一隻生活在非洲的獅子「金巴」。金巴在獅王父親早逝之後,一連經歷了放逐等困境,最後在許多動物好友的支持與鼓勵之下,鼓起勇氣擊敗反派,奪上王座。在拉德主導之下,《森林大帝》也成功打進了美國市場。
.
不到30年後,一向從童話或傳說故事取材的迪士尼宣布要推出一部保證原創的最新動畫長片。不過這部《獅子王》雖然廣受喜愛,但一上映就被看著《森林大帝》長大的卡通迷吐槽到不行。不止角色設定太雷同,大至故事架構,小至情節,幾乎根本一模一樣。即便在美國動畫圈頗有聲望,與迪士尼也關係良好,但佛雷德.拉德實在看不下去,公開指控迪士尼抄襲。
.
連在片中為辛巴配音的男星馬修.柏德瑞克(Matthew Broderic)也不給迪士尼面子,向記者坦言自己剛拿到劇本的時候也同樣覺得困惑,因為整個故事實在跟童年時愛不釋手的《森林大帝》太像了。
.
針對這項指控,迪士尼透過美聯社回應,說這項指控是子虛烏有,表明迪士尼絕無瓢竊。導演之一的羅伯.明可夫(Rob Minkoff)接受採訪時,聲稱自己從不知道《森林大帝》的存在,但後來卻被發現原來他在1980年代人在日本擔任動畫師,豈有可能不知道這齣日本國民動畫?
.
佛雷德.拉德在2003年受訪時,再次被問及此事,已經不見怒氣,更多是覺得啼笑皆非。他說當時的迪士尼主創團隊全是看著手塚治虫的動畫長大的一代,甚至連辦公室裡都放著一個金巴的面罩。
.
雖然依然認為迪士尼在瞎扯,但他也不必追究,因為當時虫製作的總裁松谷孝征受訪時很大度地為迪士尼緩頰,他說:「如果迪士尼受到了《森林大帝》的影響,我們的創辦人、已故的手塚治虫老師肯定會非常高興。就整體來看,我們認為《獅子王》與《森林大帝》完全不同,《獅子王》確實是屬於迪士尼的原創電影。」
.
既然事主無意深究,這件事也就不了了之。不過虫製作當時做出這一番回應,或許也是無可奈何。因為手塚治虫本身早期的作品就經常大抄迪士尼角色,包括七矮人、小鹿斑比都被他做過「重新詮釋」,米老鼠在他早期的漫畫《大都會 Metropolis》(1949)還以基因突變的怪物身分出場。但當時版權觀念不如現在嚴謹,華特.迪士尼(Walt Disney)本人也無意找手塚治虫的麻煩,坊間更有「英雄惜英雄」之說。
.
如果這時虫製作向迪士尼興訟,也會讓自己落得尷尬局面。因此松谷孝征只說,如果手塚治虫地下有知,應該也不會有任何反應,甚至可能會有「受寵若驚」之感,只想息事寧人。
.
但不知是否此例一開,讓美國人食髓知味,後續如《亞特蘭提斯:失落的帝國 Atlantis: The Lost Empire》(2001)再被指控抄襲庵野秀明的《海底兩萬里 Nadia, The Secret of Blue Water》(1990)。今敏的《藍色恐懼 Perfect Blue》(1997)則是連分鏡也被《黑天鵝 Black Swan》(2010)抄去。
.
一向身處幕後的佛雷德.拉德因為公開談論這起抄襲公案而成名,但成功促使美日動畫交流才是他對影視產業最重要的貢獻。晚年他曾出版《Astro Boy and Anime Come to the Americas: An Insider’s View of the Birth of a Pop Culture Phenomenon》(2008)一書,暢談日本對美國動畫產業的影響。
.
2021年8月3日,他以94歲高壽於加州辭世。
.
(勘誤說明:原文內容有一處有誤,佛雷德.拉德原文是說該不會辛巴的父親會出現在「雲層上」,而不是「月亮上」。而附圖的木法沙出現在月亮上的圖是網友自行製作,而非原作畫面。為避免造成誤導,故刪除原始圖片更換新圖。造成誤導,非常抱歉。)
#TheLionKing #KimbatheWhiteLion #獅子王 #森林大帝 #手塚治虫 #佛雷德拉德 #FredLadd
同時也有7部Youtube影片,追蹤數超過16萬的網紅Studio Megaane,也在其Youtube影片中提到,【チャンネル登録】⇒https://goo.gl/ZQ3v90 【動画検索】⇒http://studiomegaane.com/ 【Apple Music】⇒https://itunes.apple.com/jp/artist/studio-megaane/1472190745 【Twitter】⇒...
「astro boy anime」的推薦目錄:
- 關於astro boy anime 在 Facebook 的最佳解答
- 關於astro boy anime 在 Facebook 的最佳貼文
- 關於astro boy anime 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於astro boy anime 在 Studio Megaane Youtube 的精選貼文
- 關於astro boy anime 在 Studio Megaane Youtube 的最讚貼文
- 關於astro boy anime 在 初心者鉄道探検隊 Youtube 的最佳解答
- 關於astro boy anime 在 Astroboy | Astro boy, Anime, Astro - Pinterest 的評價
- 關於astro boy anime 在 Astro Boy, Anime and Manga - oh Wow! | By UCI Libraries 的評價
- 關於astro boy anime 在 Astro Boy 2003 Anime Streams on Throwback Toons Youtube 的評價
astro boy anime 在 Facebook 的最佳貼文
Incoming ASTRO BOY Mini Figures Series from ToyQube!
astro boy anime 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
ทำไม ญี่ปุ่น จึงเป็นประเทศแห่ง Character ? /โดย ลงทุนแมน
375,000 ล้านบาท คือ มูลค่าตลาดของการขายลิขสิทธิ์สินค้าในแต่ละปี
ที่มาจากธุรกิจแครักเตอร์ของญี่ปุ่น
เราทุกคนคุ้นเคยกับความน่ารักของ เฮลโลคิตตี้
ความสนุกสนานของ โปเกมอน
และความซ่าของ คุมะมง
เรื่องราวของแครักเตอร์ญี่ปุ่นเหล่านี้ไม่ได้โลดแล่นอยู่แค่ในโลกจินตนาการเท่านั้น
แต่อยู่บนสมุด กระเป๋า จานชาม เกม การ์ด ไปจนถึงรถไฟ
อะไรที่ทำให้ญี่ปุ่นสามารถต่อยอดจากเรื่องราวในจินตนาการมาสู่โลกแห่งธุรกิจ
และสร้างรายได้อย่างมหาศาล..
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ซีรีส์บทความ “Branding the Nation” ปั้นแบรนด์ แทนประเทศ
ตอน ทำไม ญี่ปุ่น จึงเป็นประเทศแห่ง Character ?
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ด้วยภูมิประเทศที่เป็นหมู่เกาะ แยกตัวโดดเดี่ยวออกจากแผ่นดินใหญ่
ญี่ปุ่นจึงมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเองมาเนิ่นนาน
ถึงแม้จะมีการรับวัฒนธรรมมาจากจีนและโลกตะวันตก แต่ท้ายที่สุด
ชาวญี่ปุ่นก็สามารถเลือกสรร และหลอมรวมเข้ากับความเชื่อของตัวเองได้อย่างกลมกลืน
หนึ่งในความเชื่อของชาวญี่ปุ่น คือเชื่อว่าเทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะสิงสถิตอยู่ในทุก ๆ อย่างรอบตัว ทั้งต้นไม้ แม่น้ำ ภูเขา ทำให้มีการแกะสลักหินเป็นเครื่องรางพกติดตัวมาตั้งแต่สมัยโบราณเพื่อเป็นคุณค่าทางจิตใจ ชาวญี่ปุ่นจึงมีความคุ้นเคยกับการประยุกต์สิ่งที่เป็นนามธรรม ให้มาอยู่บนสิ่งของรอบตัว
พอมาถึงสมัยเฮอัน ราวศตวรรษที่ 10 จึงเกิดคำว่า “คาวายูชิ” ซึ่งเป็นรากศัพท์ของคำว่า
“คาวาอิ” ในปัจจุบัน ที่ใช้บรรยายความรู้สึกที่มีต่อสิ่งที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบของจริง
เช่น ของใช้, ตุ๊กตา, เครื่องรางที่แกะสลักเป็นรูปร่างต่าง ๆ
ราวปลายศตวรรษที่ 19 คือสมัยปฏิรูปเมจิ เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมตามแบบชาติตะวันตก เกิดอุตสาหกรรมสื่อและสิ่งพิมพ์ มีการประยุกต์วาดภาพเรื่องราวเป็นช่อง ๆ
และตีพิมพ์เป็นหนังสือคล้ายกับการ์ตูนของชาวตะวันตก ซึ่งชาวญี่ปุ่นเรียกสิ่งนี้ว่า “มังงะ”
จนมายุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นเสียหายหนัก
ญี่ปุ่นต้องใช้ระยะเวลาราว 10 ปี ในการฟื้นฟูภาคการผลิตของใช้จำเป็น และอุตสาหกรรมต่าง ๆ ขึ้นมาอีกครั้ง
เมื่อเศรษฐกิจเริ่มเข้าที่ในช่วงทศวรรษ 1960s ผู้คนก็เริ่มมองหาความบันเทิงให้กับชีวิต
เป็นช่วงเวลาที่โทรทัศน์เริ่มแพร่หลาย มีการนำเรื่องราวจากมังงะมาสร้างบนจอโทรทัศน์
ซึ่งมังงะที่ถูกฉาย ไม่ว่าจะบนจอโทรทัศน์หรือภาพยนตร์ จะถูกเรียกว่า “อานิเมะ”
อานิเมะเรื่องแรกบนจอโทรทัศน์ ฉายในปี 1963 คือเรื่อง Astro Boy หรือเจ้าหนูปรมาณู ของ Osamu Tezuka หลังจากอานิเมะเรื่องแรก ก็มีมังงะอีกหลายเรื่องได้ถูกนำมาทำเป็นอานิเมะ
ไม่ว่าจะเป็น โดราเอมอน, ดราก้อนบอล, เซเลอร์มูน, วันพีซ ซึ่งล้วนโด่งดังไปทั่วโลก
นับตั้งแต่ทศวรรษ 1960s เศรษฐกิจญี่ปุ่นเติบโตต่อเนื่องเป็นเวลาหลายสิบปี
จนก้าวขึ้นมามีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก ในช่วงทศวรรษ 1980s
ตลาดการบริโภคของชาวญี่ปุ่นก็ขยายตัวตาม ทำให้เกิดกระแสการบริโภคที่มองหาความแตกต่างจากของใช้จำเป็นทั่วไป มีความเป็นเอกลักษณ์และเพิ่มคุณค่าทางจิตใจ
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปอีกประการก็คือ บทบาทของผู้หญิงในสังคมญี่ปุ่น
แต่เดิมผู้หญิงญี่ปุ่นที่แต่งงานแล้วต้องรับผิดชอบหน้าที่แม่บ้านอย่างเต็มตัว แต่เมื่อเศรษฐกิจเติบโตขึ้น ทำให้ผู้หญิงมีโอกาสทำงานนอกบ้านมากขึ้น จึงมีรายได้เลี้ยงตัวเอง และมีอำนาจซื้อที่มากขึ้น
เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคยุคใหม่ โดยมีผู้หญิงเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญ
ทำให้มีการนำวัฒนธรรมคาวาอิเข้ามาประยุกต์ใช้กับวงการธุรกิจ
ซึ่งวัฒนธรรมคาวาอินี้ ก็ถูกนำมาประยุกต์เป็นสิ่งของ กลายเป็นสินค้าที่สร้างโอกาสทางธุรกิจมากมาย
สิ่งที่โดดเด่นที่สุดก็คือ “การสร้างแครักเตอร์” เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ สร้างเรื่องราว
เพิ่มคุณค่าให้กับสินค้านั้น ๆ และดึงดูดกลุ่มลูกค้าที่มองหาความเฉพาะตัว
โดยแครักเตอร์ของญี่ปุ่น จะมีจุดเด่นอยู่ 3 ประการหลัก ๆ คือ..
ประการที่ 1 แครักเตอร์ญี่ปุ่นจะมีลายเส้นที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน มองเห็นครั้งแรกก็สามารถตอบได้เลยว่านี่คือตัวอะไร ไม่ว่าจะเป็น คุณลุง หมี แมว แม้กระทั่งชิ้นเทมปุระ
การออกแบบที่เรียบง่ายนี้ ส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาการออกแบบของญี่ปุ่น
ที่มักซ่อนความสวยงามและลึกซึ้งไว้บนความเรียบง่ายได้อย่างลงตัว
ประการที่ 2 ใส่ชีวิตจิตใจและเรื่องราว ให้มีความคล้ายคลึงกับมนุษย์มากที่สุด
เช่น มีอายุ อุปนิสัย อาหารที่ชอบ วันเกิด ความสามารถพิเศษ กรุ๊ปเลือด ไปจนถึงเป้าหมายในชีวิต
ประการที่ 3 มีการสร้าง Story ให้มีเรื่องราวในชีวิตของแครักเตอร์นั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง
เช่น ไปท่องเที่ยวตามสถานที่ต่าง ๆ พบคู่ชีวิต แต่งงาน และมีลูก
วัฒนธรรมการสร้างแครักเตอร์ เริ่มถูกหลอมรวมเข้ากับภาคธุรกิจ
และได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วงทศวรรษ 1990s
จนเมื่อเศรษฐกิจของญี่ปุ่นประสบปัญหาฟองสบู่
และภาคการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมต้องย้ายฐานการผลิตออกนอกประเทศเนื่องจากค่าแรงที่สูง
รัฐบาลญี่ปุ่นจึงเปลี่ยนจากการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม หันมาให้ความสำคัญกับการส่งออกสินค้าทางวัฒนธรรม หรือ “Soft Power” ไปยังต่างประเทศ
โดยมีแครักเตอร์เป็นหัวรถจักรสำคัญของ Soft Power
ซึ่งแครักเตอร์ของญี่ปุ่น จะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
ออริจินัลแครักเตอร์, มังงะแครักเตอร์ และแมสก็อตแครักเตอร์
1. ออริจินัลแครักเตอร์
เป็นแครักเตอร์ที่ถูกสร้างโดยบริษัทเอกชน เพื่อนำไปทำเป็นสินค้าและบริการ หรือเพื่อขายลิขสิทธิ์ แครักเตอร์ที่น่าสนใจ ก็คือ เฮลโลคิตตี้
ซึ่งบริษัทที่เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์แครักเตอร์นี้ ก็คือ บริษัท Sanrio
เฮลโลคิตตี้ ถูกออกแบบครั้งแรกในปี 1974 ขณะที่บริษัท Sanrio ยังเป็นบริษัทขายผ้าไหมและรองเท้าแตะ เพื่อหวังเพิ่มยอดขายให้กับรองเท้าแตะ
โดยเฮลโลคิตตี้ เป็นตัวการ์ตูนรูปร่างเหมือนแมว ไม่มีปาก แต่หลังจากที่รองเท้าขายดี ก็มีการพัฒนาเฮลโลคิตตี้ให้มีความหลากหลาย และแตกไลน์ผลิตภัณฑ์ให้มากขึ้น
ซึ่งที่แครักเตอร์ของเฮลโลคิตตี้ไม่มีปาก ก็เพื่อไม่ให้แสดงออกถึงอารมณ์ เพราะต้องการให้แครักเตอร์นี้ สามารถสื่อสารกับผู้บริโภคได้ในทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะอยู่ในอารมณ์เหงา ดีใจ หรือเศร้าใจก็ตาม
2. มังงะแครักเตอร์
เป็นแครักเตอร์ที่ถูกสร้างโดยบริษัทเอกชน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำไปทำเป็นสินค้า บริการ และขายลิขสิทธิ์เช่นเดียวกัน
แต่ที่มาของแครักเตอร์เหล่านี้ จะถูกต่อยอดมาจากมังงะชื่อดัง
ซึ่งหลาย ๆ เรื่อง ไม่ได้โด่งดังแค่ในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น แต่ถูกขายลิขสิทธิ์ไปทั่วโลก
มังงะแครักเตอร์ที่คนทั้งโลกรู้จักดีที่สุด ก็คือ โปเกมอน ซึ่งปัจจุบันเป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท Pokémon ซึ่งอยู่ในเครือของบริษัทเกมชื่อดัง Nintendo
จากมังงะชื่อดังที่เริ่มวางขายในปี 1996 บริษัท Pokémon ได้ถูกจัดตั้งในปี 1998
เพื่อสร้างแบรนด์ วางแผนการตลาด และจัดการลิขสิทธิ์ให้กับแครักเตอร์จากมังงะโปเกมอนโดยเฉพาะ
โดยรายได้ของบริษัท Pokémon มาจากค่าลิขสิทธิ์ในการผลิตสินค้าต่าง ๆ เป็นอันดับ 1
อันดับ 2 มาจากวิดีโอเกม และอันดับ 3 คือรายได้จากการ์ดเกมโปเกมอน
3. แมสก็อตแครักเตอร์
หรือในภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า “ยูรุคาระ”
เป็นแครักเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นโดยภาครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่น เช่น
คุมะมง ซึ่งเป็นแมสก็อตประจำจังหวัดคูมาโมโตะ ทางตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่น
เมื่อประเทศญี่ปุ่นประสบวิกฤติเศรษฐกิจอีกครั้งในช่วงปลายทศวรรษ 2000s
รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณให้แต่ละจังหวัดนำไปดำเนินการกระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่น
ซึ่งจังหวัดคูมาโมโตะได้คิดแคมเปญโปรโมตการท่องเที่ยว “Kumamoto Surprise”
โดยสร้างแครักเตอร์คือ คุมะมง เป็นหมีที่มีสีหน้าแสดงความประหลาดใจอยู่ตลอดเวลา
และเปิดตัวครั้งแรกในพิธีเปิดเส้นทางรถไฟชิงกันเซ็งสายคิวชู ในปี 2011
เนื่องจากมีงบประมาณจำกัด แครักเตอร์คุมะมงจึงใช้การโปรโมตผ่านโซเชียลมีเดีย ทั้งเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และยูทูบ แต่กลับกลายเป็นผลดี ที่ทำให้คุมะมงโด่งดังไปทั่วญี่ปุ่นโดยไม่ต้องใช้งบประมาณมากมาย
และสิ่งสำคัญคือ มีการอนุญาตให้บริษัทหรือหน่วยงานต่าง ๆ สามารถนำภาพลายเส้นคุมะมงไปใช้ในสินค้า และบริการต่าง ๆ ได้โดยไม่คิดค่าบริการในช่วงแรก แต่มีข้อแม้คือ ต้องนำผลผลิตของจังหวัดคูมาโมโตะไปใช้เป็นวัตถุดิบในสินค้านั้น ๆ ด้วย
การยกเว้นค่าบริการ นอกจากจะกระตุ้นเศรษฐกิจของท้องถิ่นได้เป็นอย่างดีแล้ว
ยังทำให้บริษัทต่าง ๆ มีความสนใจแครักเตอร์คุมะมงมากขึ้น จนสุดท้ายก็เกิดการขยายธุรกิจที่หลากหลาย และกลายเป็นแครักเตอร์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก
ถึงแม้แครักเตอร์ทั้ง 3 ประเภท จะมีที่มาและจุดประสงค์แตกต่างกันไป
แต่สิ่งที่คล้ายคลึงกันก็คือ แครักเตอร์ทุกตัว ล้วนมีการวางแผนพัฒนาอย่างเป็นระบบ
ในญี่ปุ่นมีที่ปรึกษาที่เชี่ยวชาญธุรกิจแครักเตอร์ ที่ปรึกษาเหล่านี้จะช่วยตั้งแต่การออกแบบ
ไปจนถึงการทำการตลาดและการขายลิขสิทธิ์
การออกแบบสินค้า จะออกแบบเพื่อจับกลุ่มลูกค้าทุกเพศทุกวัย มีช่องทางขายสินค้าแครักเตอร์มากมาย ตั้งแต่ในห้างทั่วไป ไปจนถึงร้านค้าที่ขายสินค้าแครักเตอร์โดยเฉพาะ
ในการขายลิขสิทธิ์ จะมีการประยุกต์ใช้กลยุทธ์ Localization
คือการให้สิทธิ์ผู้ซื้อลิขสิทธิ์ในการดัดแปลงตัวแครักเตอร์เพื่อให้เหมาะกับลูกค้าในแต่ละท้องที่
รวมไปถึงลูกค้าต่างประเทศที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกันไป
นอกจากนี้ก็ยังมีสมาคม Character Brand Licensing Association หรือ CBLA ที่สนับสนุนโดยรัฐบาล ทำหน้าที่เน้นในการส่งเสริมเรื่องการขายลิขสิทธิ์ตัวแครักเตอร์โดยเฉพาะ
ทุกวันนี้ บริษัท Sanrio ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์โตเกียว
มีมูลค่าบริษัทมากกว่า 40,000 ล้านบาท
บริษัท Pokémon ทำเงินจากการขายลิขสิทธิ์ได้มากกว่า 57,000 ล้านบาทต่อปี
และแครักเตอร์คุมะมง ทำเงินเข้าจังหวัดคูมาโมโตะมาแล้วกว่า 30,000 ล้านบาท
แครักเตอร์ญี่ปุ่นครองใจผู้คนทั่วโลก ส่วนหนึ่งมาจากการบริหารจัดการที่ดี และความร่วมมืออย่างแข็งขันระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน ที่ทำให้ญี่ปุ่นสามารถนำเอาคุณค่าทางวัฒนธรรม
มาผนวกเข้ากับมูลค่าทางเศรษฐกิจได้อย่างลงตัว
แต่เหนือสิ่งอื่นใด คือ ความสามารถในการออกแบบแครักเตอร์ของญี่ปุ่นอันเป็นเอกลักษณ์
ที่ผสมผสานจินตนาการและความเรียบง่ายเอาไว้ด้วยกัน
สังคมญี่ปุ่นมีระเบียบแบบแผน วินัย และธรรมเนียมประเพณีที่เคร่งครัด จึงมีความโดดเด่นในการสร้างโลกแฟนตาซีอันไร้ขีดจำกัด ไม่ว่าจะเพื่อหลีกหนีโลกแห่งความเป็นจริงอันเคร่งเครียด หรือเพื่อสร้างโลกแห่งจินตนาการอันน่าหลงใหล แครักเตอร์คือสิ่งที่ช่วยปลอบประโลมจิตใจ
เมื่อผู้คนเบื่อหน่ายกับการบริโภคในสิ่งที่เหมือนกัน และมองหาความแตกต่างที่เรียบง่าย
แต่ไม่ได้มองหาความง่ายที่มีแต่ความราบเรียบ
ตรงกันข้าม ในความเรียบง่าย จะต้องมีความพิเศษและลึกซึ้ง
ประเทศที่จะตอบโจทย์การออกแบบอันซับซ้อนนี้ได้ดีกว่าใคร
คงจะเป็นใครไม่ได้ นอกจาก “ญี่ปุ่น” นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.statista.com/statistics/1184076/japan-character-merchandising-market-size/
-https://animechicago.com/articles/brief-history-anime-manga-zen-cartoons-sailor-moon/
-https://kimi.wiki/life/characters
-https://corporate.pokemon.co.jp/en/business/licences/
-http://cbla.jp/index_eng.html
-https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsn/article/download/75762/112595/
astro boy anime 在 Studio Megaane Youtube 的精選貼文
【チャンネル登録】⇒https://goo.gl/ZQ3v90
【動画検索】⇒http://studiomegaane.com/
【Apple Music】⇒https://itunes.apple.com/jp/artist/studio-megaane/1472190745
【Twitter】⇒https://twitter.com/me_gaane
【再生リスト「2000's 8bit」】⇒https://www.youtube.com/playlist?list=PLz4hpi3aJ2GEsFUJIGCpecVR-Ci8U-GS0
「true blue/Astro Boy」
作詞 - 町田紀彦 / 作曲 - 町田紀彦、吉松隆 / 編曲 - 山原一浩 / 歌 - ZONE
【アストロボーイ・鉄腕アトム】2003年
原作 - 手塚治虫 / 07th Expansion / 制作 - 手塚プロダクション
☆年代別楽曲検索★
【2020年代】⇒http://studiomegaane.com/2020%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【2010年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/2010%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【2000年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/2000%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1990年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1990%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1980年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1980%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1970年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1970%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1960年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1960%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1950年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1950%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
#アストロボーイ鉄腕アトム #trueblue #8bit #StudioMegaane #chiptune
astro boy anime 在 Studio Megaane Youtube 的最讚貼文
【チャンネル登録】⇒https://goo.gl/ZQ3v90
【動画検索】⇒http://studiomegaane.com/
【Apple Music】⇒https://itunes.apple.com/jp/artist/studio-megaane/1472190745
【Twitter】⇒https://twitter.com/me_gaane
【再生リスト「1960's & 1970's 8bit」】⇒https://www.youtube.com/playlist?list=PLz4hpi3aJ2GHRXCDKf0swPUgouAhUmFF0
「Astro Boy/Astro Boy」
作詞 - 谷川俊太郎 / 作曲 - 高井達雄 / 歌 - 上高田少年合唱団
【鉄腕アトム】1963年
原作 - 手塚治虫 制作 - 虫プロダクション
☆年代別楽曲検索★
【2020年代】⇒http://studiomegaane.com/2020%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【2010年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/2010%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【2000年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/2000%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1990年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1990%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1980年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1980%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1970年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1970%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1960年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1960%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
【1950年代】⇒http://studiomegaane.com/sample-page/1950%e5%b9%b4%e4%bb%a3/
#鉄腕アトム #手塚治虫 #8bit #StudioMegaane #chiptune
astro boy anime 在 初心者鉄道探検隊 Youtube 的最佳解答
2019年9月12日撮影
大泉学園駅(おおいずみがくえんえき)
西武池袋線
1924年(大正13年)11月1日に武蔵野鉄道の東大泉駅として開業
1933年(昭和8年)3月1日大泉学園駅に改称
1983年(昭和58年)11月12日橋上駅舎を使用開始。
2008年(平成20年)3月16日松本零士の漫画キャラクター「銀河鉄道999の車掌」を名誉駅長とし、そのFRP製立像を改札内に設置
2009年3月8日から、映画『銀河鉄道999』の主題歌「銀河鉄道999」を発車メロディに採用した。編曲は作曲者であるタケカワユキヒデが担当した
2018年(平成30年)度の1日平均乗降人員は88,104人で、西武鉄道全92駅中第8位。西武鉄道で接続線のない途中駅としては最多
2015年4月4日リズモ大泉学園の整備の一環としてペデストリアンデッキが建設され、その供用に合わせて大泉アニメゲートがオープンした
エリア内には、等身大のアニメキャラクターの銅像や、パネルなどがある。
キャラクターの銅像は以下の通り、
アトム(「鉄腕アトム」)
メーテル・星野鉄郎(「銀河鉄道999」)
矢吹丈(「あしたのジョー」)
ラム(「うる星やつら」)
Ōizumi-gakuen Station
Seibu Ikebukuro Line
Opened as Higashi-Ōizumi Station of Musashino Railway on November 1, 1924
Renamed to Ōizumi-gakuen Station on March 1, 1933.
March 16, 2008 Reiji Matsumoto's cartoon character "Galaxy Express 999 conductor" is honored as station director, and its FRP statue is installed in the ticket gate
From March 8, 2009, the theme song “Galaxy Express 999” of the movie “Galaxy Express 999” was adopted as the departure melody.
In 2018, the average daily number of passengers was 88,104, ranking 8th out of 92 Seibu Railway stations.
April 4, 2015 A pedestrian deck was constructed as part of the development of Rizmo Oizumi Gakuen, and the Oizumi Anime Gate was opened for its use
In the area, there are bronze statues and panels of life-size anime characters.
The statue of the character is as follows:
Atom ("Astro Boy")
Metel, Tetsuro Hoshino (“Galaxy Express 999”)
Takeshi Yabuki ("Tomorrow's Joe")
Lum("Urusei Yatsura")
大泉學園站
西武池袋線
1924年11月1日,武藏野鐵道東大泉站開業
1933年3月1日更名為大泉學園站。
從2009年3月8日起,電影“ Galaxy Express 999”的主題曲“ Galaxy Express 999”被用作出發旋律。
2018年,日均旅客人數為88104人,在西武92個站中排名第8位。
大泉学园站
西武池袋线
1924年11月1日,武藏野铁道东大泉站开业
1933年3月1日更名为大泉学园站。
从2009年3月8日起,电影“ Galaxy Express 999”的主题曲“ Galaxy Express 999”被用作出发旋律。
2018年,日均旅客人数为88104人,在西武92个站中排名第8位。
오이즈미 가쿠엔 역
세이부 이케부쿠로 선
1924 년 11 월 1 일 개관
2008 년 3 월 16 일 마츠모토 레이지의 만화 캐릭터 '은하 철도 999 차장 "을 명예 역장으로 그 FRP의 입상을 개찰 내에 설치
2009 년 3 월 8 일부터 영화 '은하 철도 999'의 주제가 '은하 철도 999'를 발차 멜로디에 채용 한
2018 년도 1 일 평균 승강 인원은 88,104 명으로 세이부 총 92 역 중 8 위
astro boy anime 在 Astro Boy, Anime and Manga - oh Wow! | By UCI Libraries 的推薦與評價
Astro Boy, Anime and Manga - oh Wow! From pop culture to politics, anime's international influence gained prominence with Osamu Tezuka, known as the “Walt ... ... <看更多>
astro boy anime 在 Astro Boy 2003 Anime Streams on Throwback Toons Youtube 的推薦與評價
The 2003 anime of Astro Boy is streaming on Sony Picture Television's Throwback Toons' Youtube Channel for a nostalgia-filled watch. ... <看更多>
astro boy anime 在 Astroboy | Astro boy, Anime, Astro - Pinterest 的推薦與評價
Jul 13, 2013 - This Pin was discovered by Kiko Urena. Discover (and save!) your own Pins on Pinterest. ... <看更多>