中國製造業目前已經面臨到了成本上漲的通膨壓力,未來反應會傳導到終端產品上
caixin pmi 在 อ้ายจง Facebook 的最佳解答
วิเคราะห์และสรุป โอกาสการลงทุนของนักลงทุนจีนในย่านอาเซียน หลังเหตุการณ์แพร่ระบาดCOVID-19
.
เมื่อเช้านี้ผมมีโอกาสได้อ่านบทความของ South China Morning Post สื่อชื่อดังของฮ่องกง เกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จีนต้องเผชิญอันมาจากการระบาดหนักของ COVID-19
โดยในบทความนั้นสรุปไว้ว่า การเติบโตทางเศรษฐกิจจีนในปี 2020 จะปรับลดลง โดยIMF คาดการณ์ว่า อัตราการเติบโตของจีนจะลดต่ำลงกว่า 5.6%
ในแง่ของ PMI ( Purchasing Managers’ Index) ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ เป็นอีกหนึ่งดัชนีบ่งชี้สภาวะทางเศรษฐกิจของภาคการผลิตและบริการ ซึ่งในจีน Caixin Media Company Ltd. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำดัชนี
เดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา Caixin เผยว่า PMIของจีนลดลงจาก 51.8% เดือนมกราคม เหลือ 26.5% เนื่องจากกำลังผลิตส่วนใหญ่ได้รับการผลกระทบโดยตรงจากCOVID-19 จึงมีการปิดโรงงาน โดยภาคบริการ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว ก็ได้รับกระทบหนัก จากนโยบายจีนปิดเมือง เพื่อสู้ศึกCOVID-19
แต่ล่าสุดจีนได้อัพเดทสถานการณ์ในจีนต่อIMF โดยระบุว่า ณ ขณะนี้ กำลังการผลิตในจีนเริ่มเพิ่มขึ้นทะลุ 60% และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 90% ในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้า
แม้ว่าในภาพรวม เศรษฐกิจจีนจะได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการระบาดในครั้งนี้ แต่ภายใต้ วิกฤติ มีโอกาสซ่อนไว้อยู่เสมอ
อย่างในครั้งนี้ ที่เห็นชัด ได้แก่ เศรษฐกิจดิจิทัล - การขับเคลื่อนโดยการจับจ่ายใช้สอยออนไลน์ในขณะที่ประชาชนไม่ออกจากบ้าน
ตัวอย่างเช่น 9วันแรกของเทศกาลตรุษจีน (ตั้งแต่ 25 ม.ค. 63) ยอดสั่งซื้อสินค้าอาหารสดและข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำผ่านแพลทฟอร์ม JD.com มีการเติบโตถึง 215% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า
ขณะที่ 每日优鲜 หรือ Miss Fresh สตาร์ทอัพ Food Deliveryที่มาแรงมากในจีน (มี Tencent Holdings เป็นแบ็กอัพในการลงทุน) ก็เติบโตอย่างมากโดยเฉพาะในช่วงแรกของการระบาด ซึ่งจำนวนรายการสั่งซื้อเพิ่มขึ้น 300% เลยทีเดียว
หรืออีกตัวอย่างหนึ่งที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา หลังจากจีนเริ่มมีสถานการณ์ดีขึ้นและผ่อนปรนนโยบายปิดเมืองอู่ฮั่น :หลังจากร้านต่างๆเริ่มกลับมาเปิดให้บริการประมาณ57% เมื่อวันที่ 25 ก.พ.63 พบว่าแค่วันนั้นเพียงวันเดียว ก็มียอดสั่งอาหารออนไลน์ในเมืองอู่ฮั่น 130,000รายการ
ตัวอย่างนี้ก็เป็นตัวอย่างได้อย่างดีว่า แม้วิกฤติจะเริ่มผ่านพ้น แต่คนจีนทุกช่วงวัยได้คุ้นชินกับการใช้บริการออนไลน์ที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด
นี่คือเหตุผลที่ "จีนกำลังจะขยับขยายมาย่านอาเซียนมากขึ้น เนื่องด้วยเหตุผลการเติบโตของธุรกิจที่ปรับจากออฟไลน์มาสู่ออนไลน์"
ในช่วงเดือนกรกฎาคมของปีที่แล้ว (2019) มีรายงานจาก GlobalTimesสื่อจีนว่า ย่านอาเซียน ASEAN กำลังเป็นย่านที่นักลงทุน Venture Capital จีน หอบเงินมาลงทุนมากที่สุด
3ปีมานี้ ที่Venture Capitalจีน เริ่มเข้ามาลงทุนในตลาดอาเซียน และมีแนวโน้มลงทุนเพิ่มขึ้นทุกปี อย่างในครึ่งแรกของปีนี้ 2019 ก็มีการลงทุนในภูมิภาคนี้ไปแล้วกว่่า 667ล้านดอลล่าร์สหรัฐ เพิ่มจากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า สูงถึง 350%
3ปีที่ผ่านมา มีการลงทุนในธุรกิจ Startupภูมิภาคอาเซียน 2.6หมื่นล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยครึ่งหนึ่ง มาจาก VCจีน
เหตุผลหลักที่ VCจีน หันมาลงทุนย่านอาเซียน เพราะมองเห็นโอกาสของตลาดอาเซียน โดยเฉพาะตลาดออนไลน์ที่มีจำนวนผู้ใช้งานออนไลน์กว่า 350ล้านคน จากประเทศกลุ่มอาเซียน อาทิ สิงคโปร์, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, อินโดนีเซีย, ไทย และเวียดนาม โดยธุรกิจที่มีแรงดึงดูดกลุ่มทุนจีนมากที่สุด คือ กลุ่มเทคโนโลยีใหม่ (AI, FinTech, blockchain) และธุรกิจสุขภาพ-การแพทย์
จากการพูดคุยกับเพื่อนๆชาวจีนที่เป็นนักธุรกิจและนักลงทุน พบว่า นอกจากกลุ่มทุนจีนจะมาลงทุนในธุรกิจstartup ยังเลือกมาลงทุนในบริษัท-องค์กรที่ดำเนินธุรกิจมาสักระยะใหญ่ๆและมีแนวโน้มที่จะเติบโตได้ดีในอนาคต อย่างบริษัทหลายแห่งในไทยโดยเฉพาะสายดิจิทัล-ออนไลน์ ก็มีกลุ่มทุนจีน-บริษัทยักษ์ใหญ่ในจีนมาร่วมลงทุน
.
อ้ายจงอ้างอิงจาก
- http://www.xinhuanet.com/english/2020-02/11/c_138774617.htm
- https://www.scmp.com/news/china/money-wealth/article/3065082/coronavirus-imf-again-cuts-2020-china-growth-forecast-covid
- GlobalTimes
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #ชีวิตในจีน
caixin pmi 在 姜冠宇醫師 Pro'spect Facebook 的最佳貼文
[新聞整理] 中國真的是機會嗎?
對應習近平從元旦談話開始促統,蔡英文表示絕不承認九二共識,掀起國內外兩岸論述大戰
對於統戰的論述大概有 1.歷史面 2. 人權面 3. 經濟面
歷史面我覺得見人見智,人權面當然是台派佔有優勢,雖然在去年11/24國內公投出現不好的結果,這部分還是回歸於「民主不能當飯吃」+「經濟100分政治0分」兩個中心思想的人口,也就是經濟面的問題
不禁開始思考,中國真的是機會嗎?
雖然大家直觀以會以同文同種市場大的面向去想
然後以國內新聞播報的程度也沒辦法得到客觀的資訊
那這邊好好分析國外新聞給我們的啟示吧
首先,中國12月份的製造業採購經理人指數(PMI)持續下滑,跌破50(原本11月50.2,Analysts' in a Reuters poll原本預期12月為50.1,最後掉到49.7),代表12月份的新訂單及新出口訂單呈現萎縮,國內需求明顯衰退。學者表示,以中國媒體的自我審查本質來看,中國經濟問題的嚴重性一定比公布的數字更糟。
引用來源:https://www.cnbc.com/…/china-reports-december-caixin-manufa…
全球股市在2018年的最後一天攀升,但由於貿易戰的擔憂和政治不確定性,全球主要指數在經歷了12個月的波動後下跌,然而相對大多數市場,中國市場經歷了艱難的一年,成為十年來最糟糕的表現。
引用來源:https://www.independent.co.uk/…/stocks-global-markets-2019-…
中國在經濟成長減緩之情況下注入2180億美金進入經濟市場,注入了大量的資金提供企業做借貸使用希望可以避免經濟惡化,但也有經濟學家及中小企業指出這樣的做法可能會導致資金「進入效率低下的大公司」以及「陷入泡沫化之中」。
引用來源:https://www.nytimes.com/…/…/china-economy-central-bank.html…
附帶一提,中國不只要在這貿易“新冷戰“下維穩,也要在介入其它國家政治下付出更多代價。一帶一路(Belt and Road Initiative、BRI)過去五年(2013~2018)在60多個國家花費了7000億美元。
引用來源: https://www.foreignaffairs.com/…/why-democracies-are-turnin…
你還想著回歸祖國,九二共識萬歲、經濟100分,這樣真的好嗎?
#你在跟衰退的大國合體耶
中國經濟陷入困境,台灣若還傻傻地和中國綁緊緊,只有被拖下水沉入海底的命運。
——
#本篇感謝很多關注國際新聞的網友整理
我沒時間做懶人包
想行俠仗義的人 #可以幫忙把以上資料做長輩圖吧