本港地產商被告知:遊戲已經改變,中央不再容忍壟斷行為。
愛國瀨共,最後下場都是一樣。
“As Beijing seeks to tighten its grip over Hong Kong, it has a new mandate for the city's powerful property tycoons: pour resources and influence into backing Beijing's interests, and help solve a potentially destabilising housing shortage.
Chinese officials delivered the message in closed meetings this year amid broader efforts to bring the city to heel under a sweeping national security law and make it more "patriotic," according to three major developers and a Hong Kong government adviser familiar with the talks.”
路透報道傳送門:
https://www.reuters.com/world/china/with-tighter-grip-beijing-sends-message-hong-kong-tycoons-fall-line-2021-09-17/
同時也有29部Youtube影片,追蹤數超過12萬的網紅朱學恒的阿宅萬事通事務所,也在其Youtube影片中提到,Twitch傳送門: https://www.twitch.tv/otakuarmy2 美國大概是世界上最有名的隨時會出賣你的好朋友了,從越南到阿富汗,哪個不是好朋友,但當了好朋友之後還是要隨時小心美方忽然決策改變啊!今天就來談一談美方最近的狀況吧! FT 美國德州Sam Houston州立大學...
「china national security」的推薦目錄:
- 關於china national security 在 股榮 Facebook 的精選貼文
- 關於china national security 在 อ้ายจง Facebook 的最佳貼文
- 關於china national security 在 國際狗語日報 X 百靈果News Facebook 的最佳解答
- 關於china national security 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的精選貼文
- 關於china national security 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最佳解答
- 關於china national security 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的精選貼文
china national security 在 อ้ายจง Facebook 的最佳貼文
เปิดประเด็นข้อเท็จจริง “จริงหรือไม่? อเมริกาและประเทศพันธมิตร ไม่อนุญาตให้คนจีนไปเรียนอีกต่อไป"
.
จริงๆมีคนถามมาตั้งแต่เมื่อวันก่อน และตอบไปในข้อความส่วนตัวแล้ว ถึงกรณีมีการโพสต์เนื้อหาบนโลกโซเชียลว่า "อเมริกา และหลายประเทศในยุโรปแบนนักศึกษาจีน" เลยอยากเขียนถึงเรื่องนี้สักหน่อย เผื่อเป็นข้อมูลสำหรับทุกคนในพิจารณาข้อเท็จจริงครับ
.
1. อเมริกาไม่ได้ "ห้าม" หรือ "ไม่อนุญาต" นักศึกษาจีนเข้าไปเรียนที่อเมริกาอีกต่อไป เหมือนกับที่มีการเขียนโพสต์ออกมาและแชร์ไปเป็นจำนวนมากก่อนหน้านี้ ยังคงมีนักศึกษาจีนได้รับการตอบรับเพื่อเข้าเรียนในอเมริกา และเริ่มเดินทางไปยังอเมริกาแล้วโดยเฉพาะเดือนสิงหาคมนี้ หลังจากอเมริกาผ่อนคลายมาตรการเข้มงวดในการขอวีซ่าและเดินทางเข้าอเมริกา โดยอนุญาตให้นักเรียนจีนเดินทางเข้าอเมริกาได้ สำหรับโปรแกรมการศึกษาที่จะเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2021 เป็นต้นไป มีเงื่อนไข “เดินทางเข้าอเมริกาล่วงหน้า ไม่เกิน 30 วัน ของเวลาเปิดเทอม - เริ่มคอร์ส”
.
แต่ต้องยอมรับว่า "มีข้อจำกัดมากขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น จากวิกฤติโควิด ค่าตั๋วค่าเดินทางแพงขึ้น ตามข้อมูลจาก SCMP (South Morning China Post) สื่อเอกชนที่รายงานเรื่องจีน นำเสนอสกู๊ป "The high price Chinese students pay for university in the US during the Covid-19 pandemic" เผยแพร่ 21 สิงหาคม 2564 ระบุ "ค่าตั๋วเครื่องบินจากจีนเข้าอเมริกา ราคาสูงมากทีเดียว ตัวอย่างเช่น ตั๋วเที่ยวเดียวจากปักกิ่งหรือเซี่ยงไฮ้ ไปยังปลายทางมหานครนิวยอร์ก บอสตัน หรือเมืองใหญ่อีกหลายเมืองในอเมริกา ต้องจ่ายเงินสูงถึงราว 20,000 หยวน ( ประมาณ 1 แสนบาท)"
.
2. เรื่องของการเมือง มีผลกระทบจริงต่อการเรียนต่อในอเมริกาของนักเรียนนักศึกษาจีน แต่ยังสามารถไปได้อยู่ ไม่ใช่ ห้าม 100% ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น โดยในบทความของ SCMP (ที่อ้างอิงข้างบน) ยังระบุคำสัมภาษณ์นักศึกษาจีน
“ความสัมพันธ์ของสองประเทศยังคงมีปัญหา และกระแสชาตินิยมในจีนยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ การตัดสินใจเรียนต่อในอเมริกาไมใช่เรื่องง่ายเลย แต่หวังว่าจะคุ้มค่ากับเงินและอุปสรรคปัญหาต่างๆที่เจอ”
.
3. ตั้งแต่ช่วงสงครามการค้าจีนอเมริกาอย่างหนักเมื่อช่วงปี 2019 อเมริกาได้ประกาศแบนหลายสินค้าและบริษัทของจีน อย่างเช่น Huawei ซึ่งไม่เว้นแม้แต่สถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยในจีนที่โดนแบนไปทั้งหมด 6 แห่ง (รวมถึงมหาวิทยาลัยที่อ้ายจงเรียนจบมา) โดยล้วนเกี่ยวข้องกับสายเทคโนโลยีและวิศวกรรมของจีน มีชื่ออยู่ในบทความของสื่อจีน South China Morning Post เมื่อปี2015 ว่า เป็น TOP5 มหาวิทยาลัยจีนที่ทำโปรเจคลับและสำคัญสุดๆให้แก่จีน
.
ในฐานะที่เป็นศิษย์เก่าสถาบันที่มีอยู่ในรายชื่อแบนของอเมริกา ผมจึงสอบถามไปยังเพื่อนคนจีนที่ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ในมหาวิทยาลัยแห่งนั้น โดยรับคำตอบว่า “เคยมีเหมือนกันที่อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษาปัจจุบัน และศิษย์เก่า รู้สึกว่า “ขอวีซ่าเข้าอเมริกายากขึ้นจริง”
.
4. ปี 2020 อเมริกาประกาศ “แบนและยกเลิกวีซ่านักศึกษาแก่นักศึกษาจีน” อย่างน้อย 2 รอบ สืบเนื่องมาตั้งแต่ความขัดแย้งทางการค้าในสงครามการค้าสองประเทศ โดยเหตุผลที่ยกเลิกวีซ่า อเมริกายกเหตุผล “นักศึกษาจีนเหล่านี้ มีความเกี่ยวข้องกับทางการทหารจีน และขโมยข้อมูลสำคัญของทางอเมริกาไปให้แก่ทางจีน” คาดว่ามีนักศึกษาจีนได้รับผลกระทบอย่างน้อย 3,000 – 5,000 คน จากจำนวนนักศึกษาจีนทั้งหมดที่เรียนในอเมริกาช่วงปีการศึกษา 2019-2020 372,000 คน คิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 3 ของนักศึกษาต่างชาติหลักล้านคนในอเมริกา (อ้างอิงตัวเลขจาก China Daily สื่อจีน)
.
มีนักศึกษาจีนบางคนที่โดนแบนให้สัมภาษณ์กับสื่อ อย่างเช่น นักศึกษาหนุ่มจีนนาม “Dennis Hu” ให้สัมภาษณ์ต่อ CNN ว่า “เดินทางกลับจากอเมริกาไปยังบ้านในประเทศจีน เพื่อฉลองตรุษจีน (ช่วงจีนเกิดระบาดโควิด) และจะกลับไปต่อวีซ่าอเมริกา เพื่อกลับไปทำปริญญาเอกทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ให้จบ แต่ปรากฏว่าเขาเป็น 1 ในนักศึกษาจีนนับพันคนที่โดนแบนวีซ่า ไม่ให้กลับไปศึกษาต่อในอเมริกา และแน่นอนว่า เขาก็เหมือนกับทุกคนที่โดนแบน ยืนยัน ไม่ได้เกี่ยวข้องใดๆหรือเป็นสายลับให้กับรัฐบาลจีน”
.
5. เรื่องราวของความขัดแย้งทางการค้าและการเมือง ส่งผลกระทบต่อการไปเรียนอเมริกาของคนจีนมาสักพักใหญ่ๆแล้ว แต่ไม่ได้เป็นการแบนแบบหว่านแห ทุกมหาวิทยาลัย ทุกคน
“เหตุผลหลักๆมาจากประเด็นความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศ การเกรงกลัวว่าข้อมูลสำคัญจะหลุดรั่วไหลไปยังรัฐบาลจีนและกองทัพจีน ผ่านทางนักเรียนนักศึกษาและนักวิจัยจีน โดยเฉพาะทางสายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ หรือเรียกรวมว่า STEM
.
บทความบนเว็บไซต์ Global Times สื่อกระบอกเสียงจีน ที่เผยแพร่เมื่อกรกฎาคมปีนี้ (2021) รายงานข้อมูล “ปัจจุบัน อเมริกาปฏิเสธวีซ่าแก่นักเรียนจีนที่ตั้งใจจะไปเรียนทางสาย STEM (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์) มากกว่า 500 คน”
.
6. อีกหนึ่งบทความบนเว็บไซต์ Global Times เมื่อพฤษภาคม 2021 Global Times รายงานข้อมูลจาก Gewai Education บริษัทแนะแนวศึกษาต่ออเมริกา ซึ่งเผยข้อมูลการขอวีซ่าอเมริกาของนักเรียนจีนจำนวนหนึ่งโดนปฏิเสธ เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงอยู่ในหน่วยงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและความมั่นคงของประเทศจีน รวมถึง หน่วยงานปราบปรามคอรัปชั่นและตรวจคนเข้าเมือง
.
7. จากมาตรการของประเทศสหรัฐอเมริกา เข้มงวดเรื่องวีซ่าแก่นักเรียนนักศึกษาจีน รวมถึงนักวิจัยจีน ด้วยเหตุผลเรื่องความปลอดภัยและความมั่นคง เคยมีการนำเสนอข่าวออกมาโดยสื่อต่างประเทศเหมือนกันว่า ประเทศพันธมิตรของอเมริกาบางประเทศ มีการดำเนินนโยบายคล้ายๆกันนี้ อย่างเช่น ญี่ปุ่น ตามการรายงานข่าวของ The Straits Times
.
และ แคนาดา ก็เคยมีการเรียกร้องให้มหาวิทยาลัยแคนาดา ระมัดระวังการทำวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยจีน เพราะข้อมูลอาจรั่วไหลไปถึงรัฐบาลจีน อย่างยิ่งทางการทหารจีน เป็นความวิตกกังวลและกลัวในประเด็นเดียวกันกับที่อเมริกาให้เหตุผลแบนวีซ่านักเรียนนักศึกษาและนักวิจัยจีน (ตามการรายงานของ CBC สื่อแคนาดา)
.
8. จีนตอบโต้นโยบายเข้มงวดแก่นักศึกษาจีนของอเมริกามาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2019 สงครามการค้าจีนอเมริกา รัฐบาลจีนออกประกาศเตือนประชาชนถึงการไปเรียนต่อและเที่ยวที่ประเทศสหรัฐอเมริกาให้ระมัดระวังในเรื่ิองของการขอวีซ่าที่มีข้อจำกัดมากขึ้น ให้ระยะเวลาอยู่ในอเมริกาลดน้อยลงกว่าที่ควรจะเป็น โดยเฉพาะส่งผลโดยตรงต่อนักศึกษาจีนที่ต้องการไปเรียนต่อที่อเมริกา
.
9. ไม่ใช่อเมริกา “เพิ่มข้อจำกัดในการขอวีซ่าแก่ชาวจีน เพียงอย่างเดียว” ประเทศจีนเองก็เข้มงวดแก่ชาวอเมริกา อย่างเช่นเมื่อช่วงเดือนมิถุนายน 2020 ทางการจีน ออกมาตรการ ‘เพิ่มข้อจำกัดในการออกวีซ่าแก่ชาวอเมริกัน ที่มีพฤติกรรมเชิงลบต่อเรื่องราวของจีนและฮ่องกง โดยในปี 2020 เป็นปีที่อเมริกายกเลิกวีซ่านักเรียนจีนหลักพันคน ตามการวิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญและสื่อต่างประเทศ อาทิ ABC News และ Wall Street Journal มองว่า “เบื้องลึกไม่ใช่ประเด็นความมั่นคงอย่างเดียว แต่เป็นการต่อต้านการออกกฎหมายความมั่นคงแห่งชาติที่จีนนำไปใช้กับฮ่องกง”
.
10. การแก้ไขปัญหาสมองไหล-หัวกะทิ-ประชาชนผู้มีความสามารถไปใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศ อย่างยิ่งในอเมริกา ให้กลับมายังประเทศจีน มีส่วนมาผลจากความขัดแย้งทางการเมืองและปัญหาทางการค้าจีนอเมริกา ทำให้คนจีนในอเมริกาเรียนจบ หรือทำงานในอเมริกาอยู่แล้ว ย้ายกลับจีนมากขึ้น แต่ไม่ใช่เหตุผลทั้งหมด เพราะจีนดำเนินนโยบายดึงดูดคนจีนเก่งๆให้กลับมาประเทศจีน ตั้งแต่ก่อนเกิดสงครามการค้าจีนอเมริกาและการขัดแย้งทางการเมืองอย่างหนัก
.
จากประสบการณ์จริงของอ้ายจง สมัยไปทำวิจัยที่เมืองซีอานปี 2014 ตอนนั้นที่แลปดีลกับมหาวิทยาลัยในอเมริกาและยุโรปเยอะมากในด้านทำการวิจัย
.
ภายใต้การร่วมมือแต่ละครั้ง ทางแลปและมหาวิทยาลัยจะดีลโดยตรงส่วนตัวกับอาจารย์-ศาสตราจารย์จีนที่ทำงานในอเมริกา ให้มาเป็นอาจารย์และนักวิจัยในมหาวิทยาลัยจีน โดยดึงดูดด้วยผลตอบแทนและโอกาสก้าวหน้าทางอาชีพ เพื่อให้คนเก่งหัวกะทิเหล่านี้มั่นใจว่า “คุ้มค่าในการกลับไปยังประเทศบ้านเกิดเมืองนอน” (อ่านบทความเต็มที่ผมเคยเขียนเกี่ยวกับการแก้ปัญหาสมองไหลของจีน ได้ที่ https://www.blockdit.com/posts/60785b284bbb3e0c2e04f976)
.
#สรุป อเมริกาและประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะประเทศพันธมิตรของอเมริกา มีข้อจำกัดในการให้วีซ่าแก่ประชาชนชาวจีนจริง ในการเข้าศึกษาต่อและทำวิจัย แต่ขอเน้นย้ำว่า “ไม่ใช่การจำกัด หรือแบนแบบ 100%“ และจากตัวเลขตามที่มีรายงานออกมาจากสื่อต่างประเทศและสื่อจีนเอง จำนวนนักศึกษาจีนที่ได้รับผลกระทบ เอาแค่ในประเทศอเมริกา เป็นจำนวน “หลักพัน” จากทั้งหมด 3 แสนกว่าคนที่ศึกษาในอเมริกา ดังนั้น ไม่ใช่สัดส่วน 80% ที่โดนแบนและไล่กลับจีนแบบที่มีการแชร์ก่อนหน้านี้
.
โดยเหตุผลหลักของการแบนและจำกัดวีซ่าแก่คนจีน มาจากเหตุผล “ความมั่นคงและข้อขัดแย้งทางการเมือง” เน้นหนักไปที่การเกรงกลัวข้อมูลสำคัญหลุดไปยังรัฐบาลและทางกองทัพจีน ซึ่งสาขาการเรียนและการวิจัยที่โดนจับตามองเป็นพิเศษ ได้แก่ สาขาสาย STEM - วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์
.
อ้ายจงอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งข่าวทั้งจีน อเมริกา และประเทศอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับประเด็นเนื้อหา โดยใช้เป็นแหล่งข่าวภาษาอังกฤษ เพื่อทุกคนที่สนใจสามารถอ่านและตรวจเช็คข้อมูลได้ครับ
-https://www.scmp.com/news/china/diplomacy/article/3145877/high-price-chinese-students-pay-university-us-during-covid-19)
- https://news.cgtn.com/news/2020-05-30/U-S-bans-some-Chinese-students-from-entering-its-borders-QUoMxQGh4Q/index.html
- https://www.bbc.com/news/world-us-canada-54097437
- https://www.bloomberg.com/news/articles/2020-09-10/u-s-revoked-over-1-000-chinese-visas-over-national-security
- https://www.theguardian.com/world/2020/sep/10/us-cancels-1000-china-student-visas-claiming-ties-to-military
- https://www.globaltimes.cn/page/202104/1222300.shtml
- https://www.globaltimes.cn/page/202105/1223713.shtml
- https://www.globaltimes.cn/page/202107/1228072.shtml
- https://global.chinadaily.com.cn/a/202008/13/WS5f3491d4a31083481725ffd7.html
- http://www.chinadaily.com.cn/a/202107/07/WS60e4dde8a310efa1bd6601c7_2.html
- https://www.straitstimes.com/asia/east-asia/japan-to-tighten-checks-on-visa-applications-by-chinese-students-researchers-over
- https://www.cbc.ca/news/politics/china-canada-universities-research-waterloo-military-technology-1.5723846
#อ้ายจง #เล่าเรื่องเมืองจีน #ชีวิตในจีน #จีน #อเมริกา #เรียนต่ออเมริกา #แบนวีซ่า
china national security 在 國際狗語日報 X 百靈果News Facebook 的最佳解答
去年8月想要逃到臺灣卻被中國海警攔截、送中的 #12港人,其中成員「李宇軒」和律師助理陳梓華,今天在高級法庭認罪了!
他們承認 #串謀勾結外國或者境外勢力危害國家安全。李宇軒還在庭上90 度鞠躬說「I agree to the facts and I would like to say sorry.」
罪名中的勾結境外勢力,是指兩人參與的人權組織Stand with Hong Kong.,被指控有接受境外勢力的資金和其他幫助,呼籲各國制裁港府、試圖打擊國家安全。而組織核心人物有違反《#香港國安法》正在監獄服刑的 #黎智英。
***
Reuters在這篇報導有提到「In China, courts are controlled by the Communist Party and their conviction rate is close to 100%.」白話就是 #黨說你有罪就是有罪。
逃離失敗的12港人,在被 #送中 後一直是秘密審判的狀態,外交人員和記者們都不能介入。
中國當局對外宣稱會「依法處理」,但是只 #讓官方指定的律師幫他們辯護、拒絕家人會見,兩名試圖參與這次案件的人權律師也 #被吊銷執照。
china national security 在 朱學恒的阿宅萬事通事務所 Youtube 的精選貼文
Twitch傳送門: https://www.twitch.tv/otakuarmy2
美國大概是世界上最有名的隨時會出賣你的好朋友了,從越南到阿富汗,哪個不是好朋友,但當了好朋友之後還是要隨時小心美方忽然決策改變啊!今天就來談一談美方最近的狀況吧! FT 美國德州Sam Houston州立大學政治系副教授
先來看看最近的一個跟美方全力配合現在命懸一線的好例子,阿富汗。根據自由時報的報導:【阿富汗激進組織「神學士」(Taliban,或譯塔利班)目前在與政府軍的爭鬥中暫居上風,並握有國內大部分領土。阿富汗總統加尼(Ashraf Ghani)今日表示,這要歸咎於美國「突發」的撤軍決定,不過他的政府已制訂好計畫,會在6個月之內將情勢制於掌握之下。《路透》報導,加尼在國會演說提到,「當前的情況是因為國際部隊突然撤軍的決定」、「近三個月以來,我們遭遇了始料未及的狀況」。】當然我們可以說被放棄會不爽天經地義,但包含了前任駐阿最高指揮官和曾經在阿富汗服役的暢銷書作者,都提到了一個問題,阿富汗的美軍協力者怎麼辦?當年美軍撤離南越時,一併疏散了十三萬名的美軍協力者,讓他們可以入境美國,免於他們被越共秋後算帳。但當年用的主要是船隻,這次阿富汗的這些翻譯、工程師、人道工作者至少有超過七萬名,如果要靠空運,將會超過二次世界大戰以後突破柏林封鎖的大規模空運,美軍做得到嗎?已經有阿富汗翻譯單純只是被塔利班哨所發現身分就被斬首了,這七萬名美軍協助者怎麼辦?
根據周天瑋的投書,【整整50年前的7月份,美國總統尼克森的策士,國家安全事務顧問季辛吉秘訪北京,安排尼克森在第二年破冰造訪,並發表美中聯合公報,使出了美國冷戰時期劃時代的「聯中制蘇」三角戰略。當時熟讀歷史的季辛吉向尼克森說了一席話,凡是研究外交和戰略,不可不知。他向尼克森冷峻預言:「再20年,你的後繼人如果和你一樣有智慧,便會傾向於利用俄羅斯去對付中國,…,[美國]必須絲毫不帶情緒地去打這場均勢賽局。可眼前,我們需要拿中國去糾正俄羅斯、制約俄羅斯。」(見《華盛頓郵報》2016.12.14)】但是普丁也不是省油的燈,既然知道自己戰略地位又有改變,美方想要更加利用俄羅斯,經濟上一直積弱不振的俄羅斯會這麼簡單就被美國利用嗎?
根據科技新報的報導:【阿曼灣的緊張局勢升溫,要從上週的海運襲擊事件開始說起。
7 月 29 日,一艘賴比瑞亞籍、以色列公司管理的油輪「莫瑟街號」(MV Mercer Street),在沒有裝載原油或石油產品的情況下駛離阿曼灣,過不久卻遭到裝有爆炸物的無人機襲擊,造成一名英國人和一名羅馬尼亞人死亡,英國、美國和以色列均指責是伊朗操縱無人機襲擊油輪,伊朗則矢口否認。
除了 Asphalt Princess 遭到挾持之外,還有 4 艘郵輪的狀況不明確。根據 Refinitiv 船舶追蹤數據,3 日在阿聯酋和伊朗之間的海域,至少有 5 艘船舶將其自動追蹤系統(AIS)的狀態更新為「不受指揮」,這種狀況代表著因為特殊狀況,船舶無法進行操縱。
美聯社也報導,3 日至少有 4 艘船在阿聯酋海岸外廣播警告,說失去對轉向的控制。據悉,這 4 艘船分別為 Queen Ematha、the Golden Brilliant、Jag Poofa 和 Abyss。】但特別的是,伊朗外交部完全否認有這件事情,以色列卻不斷的提高對立,背後倒是甚麼原因?
另外,根據中央社的報導:【美韓聯合軍事演習預計在8月舉行,北韓領導人金正恩胞妹、勞動黨副部長金與正今天透過官媒表示,若美韓執意要舉行聯合軍演,可能讓南北韓關係再度蒙上陰影,「會密切留意南方的決定」。韓聯社報導,金與正今天透過官媒中央通信社(KCNA)發表談話,表示「最近幾天一直聽到南韓軍隊與美軍聯合軍事演習將按規劃舉行,這種令人心情很差的消息」,顯示北韓當局仍保持與先前相同立場,要求美韓停辦聯合軍演。】北韓不爽美國大家應該都習慣了,但問題是這對文在寅來說難道會影響他的兩韓一統美夢嗎?還是這美夢本來就不存在?
然後曾任CIA東亞和南亞海外工作站站長的退休人員David Sauer在THEHILLS上面投了一篇書。標題看起來還好,【The US cannot allow China to think it will abandon Taiwan】,美國不能讓中國以為它會放棄台灣。但內文卻提到台灣應該增加兵力,在城市、下水道和山區持續作戰,進行“焦土”政策,讓中國贏了台灣也得不到東西...翁P大為震怒,說這又不是你家,你才全家焦土戰術咧,這到底是安得甚麼心啊?順帶一提,美國眾議院提案政府單位不買含有台灣的中國地圖,參議院會過嗎?
https://thehill.com/opinion/national-security/565618-the-us-cannot-allow-china-to-think-it-will-abandon-taiwan
另外,這也是彭博社的消息,美國商務部公開表示..減少對台灣晶片的依賴,美國一直說支持台灣,但是台灣真的可以讓美國不能不支持的原因,在於半導體產業,可是現在美國卻默默的降低依賴...甚至他們五百二十億美金的半導體計畫可能只提供給總部在美國的企業,日後台灣護國神山還能夠有這麼大的話語權嗎?
https://www.bloomberg.com/news/articles/2021-07-28/biden-to-decide-on-grants-to-foreign-chipmakers-raimondo-says
根據自由時報的報導:【根據日經新聞報導,由於美中貿易戰越演越烈,增添晶片的地緣政治風險,有日本專家建議,日美應共同設立先進半導體研究所,在日本進行晶片設計,並交由美國廠商製造,以擺脫當前過度依賴台灣供應晶片的情況。提出這個構想的包括前日本防衛省次官西正典(Masanori Nishi),以及美國在日智囊組織鮑爾亞洲集團(BGA)的成員;BGA是華府智庫戰略暨國際研究中心(CSIS)在東南亞設立的分支機構。】但不只日方這樣提案,美國的商務部長也沒有在客氣的,也是根據自由時報的報導:【美國商務部長雷蒙多(Gina Raimondo)28日表示,由於地緣政治的風險,美國希望減少對台灣晶片的依賴,將透過520億美元的半導體扶植計畫,補助歐盟等外國晶片生產商。】
阿宅萬事通語錄貼圖上架囉 https://reurl.cc/dV7bmD
【加入YT會員按鈕】 https://reurl.cc/raleRb
【訂閱YT頻道按鈕】 https://reurl.cc/Q3k0g9
購買朱大衣服傳送門: https://shop.lucifer.tw/
📍直播大綱:
00:00 開播
10:00 阿富汗直指美國不夠意思
29:00 聯俄抗中?拜登與俄羅斯轉趨強硬
41:00 國民黨黨魁戰 解析江朱
55:00 美方怎看國民黨/柯文哲?
01:06:00 中東局勢-伊朗.以色列
01:12:00 美韓8月聯合軍演 金與正:南北韓關係再度蒙上陰影
01:23:00 前任CIA亞洲事務官員投書 台灣應考慮焦土政策
01:27:00 美方將減少對台灣晶片的依賴
china national security 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的最佳解答
“Democracy is a failure” - that’s the narrative the Chinese Communist Party has been trying to plant over the past year and hopes to take root in international discourse and in the minds of its 1.4 billion citizens. This disinformation has heavy implications for democracy in Taiwan, and it’s never been as serious as it is now.
CCP disinformation methods are detailed in a report issued late last year titled “Deafening Whispers” by Doublethink Lab, a Taiwanese organization whose mission is to strengthen democracy through digital defense. The report has just been made available in English.
This interview was recorded in January 2021 when the Chinese-version of the report was first published.
Online disinformation and influence operations affect offline real-world defense and security. Fake news is a global issue and this is The Taiwan Take. Today’s guest is Dr. Puma Shen (沈伯洋), chairman of Doublethink Lab (台灣民主實驗室) and an assistant professor at National Taipei University.
Deafening Whispers: https://medium.com/doublethinklab/deafening-whispers-f9b1d773f6cd
Today’s episode is hosted by J.R. Wu - Chief of the Secretariat for INDSR (Institute for National Defense and Security Research) in Taiwan. Wu is a former journalist with nearly two decades of media experience in the US and Asia. She has led news bureaus for Reuters and Dow Jones.
Support us on Patreon: http://patreon.com/taiwan
Follow us on Twitter: https://twitter.com/ghostislandme
SHOW CREDIT
JR Wu (Host)
Emily Y. Wu (Producer): https://twitter.com/emilyywu
Alice Yeh (Editing | Researcher)
Music: MB013KF2YKVG19A
A Ghost Island Media production
www.ghostisland.media
china national security 在 Ghost Island Media 鬼島之音 Youtube 的精選貼文
PTT is one of the most open social media platforms in the Chinese language. Though it’s not more populous than Facebook, it’s arguably more impactful than Facebook here in Taiwan. It’s a reflection of Taiwan's spirited democracy, and it’s used heavily as a source for local journalists.
We speak with two INDSR researchers on a year-long project, “A Pilot Study on PTT in the Context of Influence Operations” (批踢踢影響力作戰前導研究)which attempts to identify CCP state actors on the platfor. The researchers are Oddis J.F. Tsai (Policy Analyst at the Division of Defense Strategy and Resources) and Dr. Jui-Ming Hung (Assistant Research Fellow at the Division of Defense Strategy and Resources).
The paper lays out mechanics and - through quantitative analysis - identifies types of suspect behavior on the world’s largest non-commercial, forum-based, open-source online bulletin board system in the Chinese language. This interview was recorded in January 2021 after the paper was published by INDSR.
Today’s host is J.R. Wu - a non-resident advisor at INDSR (Institute for National Defense and Security Research) in Taiwan. Wu is a former journalist with nearly two decades of media experience in the US and Asia. She has led news bureaus for Reuters and Dow Jones.
Support us on Patreon: http://patreon.com/taiwan
Follow us on Twitter: https://twitter.com/ghostislandme
EPISODE CREDIT
JR Wu (Host)
Emily Y. Wu (Producer, Editing): https://twitter.com/emilyywu
Alice Yeh (Researcher)
Music: MB01I2MT5YPZMMW
A Ghost Island Media production
www.ghostisland.media