Ca sĩ Phi Nhung, 51 tuổi, qua đời lúc 11h57 trưa 28/9, sau thời gian chữa trị Covid-19, tại Bệnh viện Chợ Rẫy.
Theo đại diện Bệnh viện Chợ Rẫy, chị qua đời do biến chứng nặng của Covid-19, hoại tử một phần phổi, bão Cytokine, suy đa cơ quan. Trước đó, ca sĩ được chạy ECMO, lọc máu và sử dụng các loại thuốc cao cấp nhất.
Tối 22/9, người thân ca sĩ cho biết bác sĩ báo tình hình ca sĩ chuyển biến xấu, phổi bị hoại tử, đông đặc.
Hồi tháng 8, Phi Nhung đi từ thiện về và bị cảm. Ca sĩ xét nghiệm RT-PCR cho kết quả dương tính với nCoV. Giữa tháng 8, Phi Nhung nhập viện tại Bệnh viện Gia An 115, sau đó chuyển sang Bệnh viện Chợ Rẫy, điều trị tại khoa Hồi sức tích cực.
Đại diện Phi Nhung cho biết các bác sĩ dùng mọi biện pháp chữa trị cho ca sĩ, cả can thiệp ECMO. Con gái ruột của chị - Wendy Phạm - vì ở Mỹ nên ủy quyền cho nghệ sĩ Việt Hương lo lắng bệnh tình của mẹ cô, cũng như liên lạc với bệnh viện. Theo ê-kíp, hồi tháng 7, Phi Nhung hoãn kế hoạch quay về Mỹ đoàn tụ con gái vì muốn tiếp tục ở lại Sài Gòn hoạt động thiện nguyện thời dịch.
Ca sĩ Trizzie Phương Trinh - một đồng nghiệp của Phi Nhung - cho biết hồi đầu tháng 8, chị còn gọi điện trò chuyện với Phi Nhung, bàn chuyện làm show tại Mỹ gây quỹ lấy tiền mua máy thở ủng hộ bệnh viện ở TP HCM chống dịch.
Nhiều đồng nghiệp như ca sĩ Mạnh Quỳnh, Thanh Thảo, Hoàng Bách... xót xa khi trước đây hay tin chị nhập viện. Mạnh Quỳnh từng cho biết trên trang cá nhân: "Mình không giỏi mọi mặt như bạn nhưng tự tin khi đứng cạnh bạn trên sân khấu. Dù mai này hoàn cảnh cuộc sống thay đổi, không cho chúng ta được "tung hứng' với nhau để đem lại nụ cười và nguồn cảm hứng âm nhạc của khán thính giả, cả hai vẫn mãi là đôi bạn tri kỷ". Ca sĩ Trizzie Phương Trinh cho biết hồi đầu tháng 8, chị còn gọi điện trò chuyện với Phi Nhung, bàn chuyện sẽ làm show tại Mỹ gây quỹ lấy tiền mua máy thở ủng hộ cho bệnh viện Bệnh Nhiệt Đới.
Tấn Hoàng có dịp đóng vai chồng Phi Nhung trong dự án phim 12 bến nước. Anh quý sự chân tình, biết quan tâm đến người khác của ca sĩ. Hơn 10 năm trước, anh cùng một nghệ sĩ quyết định tự mua vé máy bay, phỏng vấn sang Mỹ du lịch. Lúc đó, anh thuê một khách sạn để ở. Khi hay tin, Phi Nhung đã ngỏ ý mời hai đồng nghiệp về nhà cô cho đỡ chi phí. Được vài ngày, nữ ca sĩ bận đi diễn nên chuẩn bị gạo, thức ăn... sẵn ở nhà. Thậm chí, cô còn hứa giới thiệu show cho đàn anh diễn kiếm tiền.
Phi Nhung sinh năm 1970, quê ở Gia Lai, mang trong người hai dòng máu Việt - Mỹ. Năm 1989, chị sang Mỹ, đi hát từ thiện tại chùa và thành công ở làng ca nhạc hải ngoại. Năm 2005, Phi Nhung về nước, vẫn theo đuổi dòng nhạc quê hương. Giọng ca Bông điên điển nhận nuôi nhiều trẻ mồ côi, trong đó có bảo trợ cho quán quân The Voice Kids 2016 - Hồ Văn Cường - ăn học đến năm 18 tuổi
Theo: Vnexpress
同時也有11部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅Lockon Starfish,也在其Youtube影片中提到,▶️ ติดตามอัพเดตบน Twitter https://twitter.com/Lockon_starfish ⭐️สำหรับใครที่อยากสนับสนุนช่องนี้ในอีกระดับ (Membership) https://bit.ly/2Y6AqOr ------...
「cytokine」的推薦目錄:
- 關於cytokine 在 Trắng TV Facebook 的精選貼文
- 關於cytokine 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
- 關於cytokine 在 Dr 文科生 Facebook 的最佳解答
- 關於cytokine 在 Lockon Starfish Youtube 的最佳貼文
- 關於cytokine 在 Lockon Starfish Youtube 的最讚貼文
- 關於cytokine 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最讚貼文
- 關於cytokine 在 The COVID-19 Cytokine Storm Explained - YouTube 的評價
cytokine 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
"ทำไม คนบางคนถึงป่วยจากโรคโควิด รุนแรงกว่าคนอื่น ? คำตอบอาจจะอยู่ที่ #ระดับน้ำตาลในเลือด ครับ"
หนึ่งในปริศนาเกี่ยวกับโรคโควิด 19 มาอย่างยาวนานตั้งแต่เริ่มการระบาด คือ ทำไมคนบางคนติดเชื้อไวรัส แล้วไม่มีอาการอะไรหรือมีเพียงเล็กน้อย ขณะที่บางคนติดเชื้อแล้วกลับป่วยรุนแรงมาก ?
งานวิจัยล่าสุด จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อาจจะทำให้เราได้คำตอบนั้น ผ่านการใช้เทคโนโลยี machine learning
ดร. Emmanuelle Logette, และคณะวิจัยในโครงการ the Blue Brain Project ที่สถาบัน École Polytechnique Fédérale de Lausanne (หรือ EPFL) ในกรุงเจนีวา ได้อาศัยฐานข้อมูล CORD-19 มาวิเคราะห์ และพบว่า "ระดับน้ำตาลในเลือด" (blood glucose level) จะเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อระดับความรุนแรงของโรคโควิด-19 !
งานวิจัยนี้ ชื่อว่า "A Machine-Generated View of the Role of Blood Glucose Levels in the Severity of COVID-19" ตีพิมพ์ในวารสาร Frontiers in Public Health ฉบับวันที่ 28 July 2021 (ดู https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fpubh.2021.695139/full?utm_source=fweb&utm_medium=nblog&utm_campaign=ba-sci-fpubh-covid-19-elevated-blood-glucose-blue-brain) ซึ่งพวกเขาได้ใช้เทคโนโลยี machine learning มาวิเคราะห์ข้อมูลที่ดึงมาจากบทความวิจัยในฐานข้อมูลเปิด (open access) แล้วทำให้ค้นพบบทบาทสำคัญของ "ระดับน้ำตาลที่สูงขึ้น" ในเส้นเลือด ที่มีต่อความรุนแรงของโรค Covid-19
1. ปกติ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ผู้สูงอายุ นั้นจะเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการป่วยหนักจากโรคโควิด .. แต่คนที่อายุน้อย หลายคนก็พบว่า ต้องเข้าโรงพยาบาลจากโรคนี้เช่นกัน
- มีโรคประจำตัวหลายอย่าง ที่ทราบกันว่า มีผลต่อระดับความรุนแรงของโรคโควิด ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคอ้วน และโรคความดันโลหิตสูง
- แต่ผลการวิจัยใหม่นี้ ทำให้เห็นว่า ระดับกลูโคสที่สูงขึ้นในเลือด ก็มีผลต่อคนที่ "ไม่ได้เป็น" โรคเบาหวานด้วย
2. คณะนักวิจัยของโครงการ the Blue Brain Project และพัฒนาแบบสำรอง machine learning ที่ขุดข้อมูลจากบทความวิจัยกว่า 240,000 ฉบับ ในฐานข้อมูล CORD-19 (เป็นฐานข้อมูลที่สนับสนุนโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกา , มูลนิธิ Chan Zuckerberg Initiative, Microsoft Research และกลุ่มอื่นๆ เพื่อเป็นฮับ hub งานวิจัยเกี่ยวกับโควิด-19)
- ผลการวิเคราะห์ของคณะผู้วิจัย ทำให้พบว่า แนวโน้มที่ปรากฏขึ้นซ้ำๆ ในบทความวิชาการที่ผ่านมาเกี่ยวกับอาการป่วยรุนแรงจากโรคโควิด ก็คือ ระดับน้ำตาลในเส้นเลือดที่สูงขึ้น
- โดยจากข้อมูลกว่า 400,000 ค่า ที่วิเคราะห์ คำว่า "glucose น้ำตาลกลูโคส" ปรากฏขึ้นถึง 6,326 ครั้ง ทำให้คณะผู้วิจัยค้นหาต่อไป ถึงบทบาทหน้าที่ของกลูโคส ที่มีต่ออาการป่วยของโรค ไปจนถึงกลไกทางชีวเคมีในระดับที่ลึกที่สุด
3. เรื่องหลักๆ ที่พวกเขาค้นพบ ได้แก่
- ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น ไปทำให้การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันแรกๆ ของปอดเราแย่ลง ทำให้เกิดสภาวะที่เอื้อต่อการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสโรคโควิด
- ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น ทำให้เกิดความผิดปกติในการควบคุมระดับการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะ cytokine storm (การเพิ่มขึ้นอย่างมากและรวดเร็วของสารไซโตไคน์) และภาวะ acute respiratory distress syndrome (อาการอักเสบเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ หรือ ARDS )
- อาการป่วยต่างๆ ที่ตามมาของโรคโควิด-19 ได้แก่ hyperinflammation (การอักเสบขั้นรุนแรง) และ pro-coagulation (การแข็งตัวของเลือด) ก็เกิดขึ้นตามมาจากการมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเช่นกัน
- ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้น นั้น ทำงานร่วมกันกับกลไกของการหยุดการทำงานของ ACE 2 receptor ด้วยเชื้อไวรัสโควิช ไปเพิ่มระดับความรุนแรงของโรค ให้อวัยวะต่างๆ ทำงานล้มเหลว และเกิดลิ่มเลือดอุดตัน (thrombotic)
4. การที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นแล้วไปทำให้กลไกแรกๆ ในการต่อสู้กับไวรัสของปอด แย่ลงนั้น เป็นการค้นพบที่สำคัญมาก และได้รับความสนใจน้อยกว่าที่ควร ในฐานข้อมูล CORD-19
- คณะผู้วิจัยระบุว่า การมีระดับน้ำตาลที่สูงขึ้นในเลือดแล้วไปช่วยให้เกิดสภาวะที่เอื้อต่อเชื้อไวรัส ในการเคลือบโปรตีนหนามของมันแล้วผ่านทะลุเข้าระบบภูมิคุ้มกันของปอดได้นั้น เป็นเรื่องที่ไม่เคยทราบชัดกันมาก่อน
- ก่อนหน้านี้ การรักษาโรคโควิด-19 ในผู้ป่วยบางรายอาจต้องมีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วย แต่ถ้าสมมติฐานจากงานวิจัยนี้เป็นเรื่องถูกต้อง ต่อไป การจัดการระดับน้ำตาลก็จะกลายเป็นกลยุทธ์หลักอีกอย่าง ในการควบคุมระดับอาการของโรค
- จากรายงานที่ว่า ผู้ป่วยโรค covid-19 ที่อยู่ในห้องไอซียูกว่า 80% นั้น มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง คณะผู้วิจัยจึงเสนอให้เพิ่มการควบคุมระดับน้ำตาลของผู้ป่วย เพื่อให้มีอาการที่ดีขึ้นด้วย
5. ดังนั้น ทางเลือกหนึ่งในการช่วยรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่มีความเสี่ยงสูง ก็คือใช้ยา metformin เมทฟอร์มิน ที่ได้รับการรับรองจาก FDA แล้วให้ใช้ควบคุมระดับน้ำตาลได้
- นอกจากจะช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดแล้ว ยา metformin ยังมีสรรพคุณต้านการอักเสบด้วย จากการที่ไปลดระดับของโปรตีน C-reactive protein ลง
- ยา metformin ยังช่วยในเรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ ป้องกันการตัวของหลอดเลือด และป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
ทิ้งท้ายว่า นอกจากกันใช้วิธีวิเคราะห์ด้วย AI แบบ machine learning อันนี้ จากฐานข้อมูลงานวิจัยขนาดใหญ่แล้ว ก็ยังต้องมีการศึกษาวิจัยในคลินิกอีก เพื่อพิสูจน์ยืนยันว่า ระดับน้ำตาลกลูโคสที่เพิ่มขึ้นนั้น เป็นปัจจัยพื้นฐาน ทำให้เกิดความรุนแรงของโรค covid-19 ขึ้นจริง
ภาพและข้อมูลจาก https://blog.frontiersin.org/2021/07/28/severe-covid-19-elevated-blood-glucose-blue-brain/
cytokine 在 Dr 文科生 Facebook 的最佳解答
不少讀者在澳洲生活或者將會移民澳洲,或許會對以下內容有興趣。
最近上了幾個COVID management的課,臨床上遇到不少COVID個案,跟同大家分享下澳洲COVID現時的情況
***以下內容只作參考、分享和討論用途,實際臨床治療請根據個別醫院的指引)***
【澳洲現時狀況】
主要爆發在於NSW,其他States每日確診數目前仍然為個位或雙位數,但Victoria有急速增長的潛力。所以地區的爆發個案以Delta為主。
NSW經歷兩個月封城後,並未能成功把Delta壓下來,現時每日400+個案,累積個案已8000+,ICU使用量約60+。全個NSW有約500到600張ICU病床,政府宣佈如有需要可double ICU病床數量。不過目前已有約11-14%的ICU被COVID病人佔用。未來兩星期及往後的兩個月專家預計每月確診數會升至1000+的四位數字。
為什麼封城好像沒用?很多專家有不同解說,可能是疫苗覆蓋率太低、部分民眾繼續馬照跑舞照跳開BBQ Party、封城以唧牙膏方式逐個Suburb逐個封、一年半後都仍然有人不肯戴口罩或戴不好個口罩、一年半後仍然可以出現院內交叉感染等等。
【臨床上我們學會了什麼?】
最新的研究仍然顯示重症大多是未接種疫苗的民眾,值得注意的是Delta除了傳播率更高外,似乎造成重症的機會比起original/alpha更高,特別是針對年輕群體。不過目前數據很多confounding factors,到底是因為年輕群體大多未打疫苗/未排隊打到疫苗,所以比較容易出現重症定還是delta的殺傷力比較大,相信過多幾個月有更多數據便會更清晰。
感染後一般的disease course是怎樣?
大約80%會是輕症、10-15%會是moderate to severe(大多需要住院治療)、5%是重症(Critical,或需要ICU)。Incubation period大部分3-5日就開始病發,delta似乎更短,但可長至14-21日不等。
具更高風險的群體為男性、長者、本身有心臟病、肺病、免疫系統不良、糖尿病(1/2型)、長期腎病、吸煙等等。
病發後通常day 5-8開始惡化,9-12日就開始peak,常見併發症有肺部、心臟、血栓、炎症性反應等等。
肺部如大家都相當了解,常見的為非典型性肺炎的bilateral peripheral lower zone pattern,但這種pattern亦在老人/COPD群體上的atypical bacterial pneumonia較為常見,所以並不能只靠CXR去判斷,CT Chest的話有更多defining features。不過早期病發的話,imaging未必好conclusive。歐美甚至現時澳洲,基本上你發燒或有呼吸道徵症都會幫你驗COVID。
心臟的話如任何病毒性感染,都有myocarditis的風險,同時如果嚴重的cytokine storm和multi organ failures的話,T2MI亦相當常見。臨床可疑的話ECG和troponin都不會少做。
血栓風險其實不低,如任何嚴重炎症性疾病或感染,COVID的PE風險視乎人種和Studies,都有差不多1-3%。歐美加澳等白人為主的國家以往多數有hospital policy, for any hospital admission > 24 hours都會建議打40mg SC enoxaparin作DVT prophylaxis,但有趣的是亞洲人血栓的風險其實低好多,亞洲地區甚少打prophylactic enoxaparin,但somehow日常都會照幫亞洲病人打,到底是否合適,就值得商榷。不過因為COVID,現時不少臨床建議感染COVID住院的話都打prophylactic enoxaparin。不過therapeutic enoxaparin (1mg/kg BD)就發現似乎對outcome沒有重大影響,更可能增加出血風險。
亦有個別指引建議如有臨床懷疑的話定期驗一驗D-dimer,但不少不幸染上COVID的病人都有underlying disease本身都會增加d-dimer,如果你d-dimer positive你都基本上要CTPA,但CTPA你照完1個COVID病人又要deep clean間房,下個照CT的病人便要等一輪,到底驗還是不驗,仍然是臨床上不簡單的選擇。
【目前治療的選擇】
目前有較多證據支持的藥物有Dexamethasone,類固醇似乎永遠不會令人類失望。NEJM鼎鼎大名的RECOVERY Trial發現6mg PO/IV daily可以減低重症患者28 days mortality,特別對於需要氧氣支援和插喉患者最為有用,亦可減小ARDS的機會。但對沒有氧氣需求的患者來說並無重大分別。所以輕症並不建議使用Dexamethasone
Remdesivir早期被譽為神藥,NEJM研究發現對輕症並無重大作用,但對中等至嚴重患者來說則有縮短住院時間的好處,特別在需要氧氣支援的患者上。但似乎對已插喉的患者身上無重大幫助,可能由於插喉已是最後手段而插得喉時抗病毒或許已非最重要的因素,而是應對那可惡的ARDS
Tocilizumab (IL-6 inhibitor),以往用在自體免疫系統炎症性疾病,如類風濕關節炎等。近一兩年在COVID的臨床研究其實都相當controversial,有些研究顯示有用,有些顯示無重大分別,但最近似乎又有新數據對於重症病人來說在控制cytokine storm上有不錯的效果。不過仍然需要更多數據、在使用時機和跟其他藥物配合上。
另外亦開始有研究使用Baricitinib (JAK inhibitor),跟Tocilizumab一樣,原是用在自體免疫系統炎症性疾病,如類風濕關節炎等。目前研究亦是似乎有控制cytokines storm,在重症上有正面效果。不過仍然需要更多數據、在使用時機和跟其他藥物配合上。
在美國亦有時會用到Regeneron的monoclonal antibodies,不過美國外的地方基本上都未引入,相信一來天價、二來貨量亦不足供應全球。有興趣可以自己google一下。
最後就是回歸病毒感染大多都是依賴支援性療法,人類到目前為止都仍然未有方法可以有效地殺死病毒,大多只能靠免疫系統,用藥物抑制病毒生成速度,讓免疫系統和抗體清除病毒。
於COVID治療中最常見的便是氧氣,如mild to moderate的一般只要nasal cannula支,大部分病人aim saturation >90%。但嚴重或重症時便要考慮high flow或NIV或插喉。不過NIV或插喉大多需要ICU支援,而插喉後比較麻煩的是好多時都wean不甩條喉,所以一般除非到最後階段都避免插喉,而當病人惡化到必須插喉時,Tocilizumab和Baricitinib似乎未有非常好的效果,可能已經miss the boat?這需要更多數據和研究
另外就是有趣的是intermittent prone position似乎對血含氧量有改善。不過到底對預後有無幫助就仍然未明。
今日暫時講到呢到,最近澳洲大爆發,作為前線醫生都遇到不少COVID病人,如果大家有興趣,下篇跟大家分享一下前線醫護面對的困難和壓力。
cytokine 在 Lockon Starfish Youtube 的最佳貼文
▶️ ติดตามอัพเดตบน Twitter
https://twitter.com/Lockon_starfish
⭐️สำหรับใครที่อยากสนับสนุนช่องนี้ในอีกระดับ (Membership)
https://bit.ly/2Y6AqOr
-------------------------------------------------
รวมทุกข้อมูลที่ผมรู้(ในตอนนี้)เกี่ยวกับเกม Resident Evil Village
https://youtu.be/zFhoaSU2XV8
-------------------------------------------------
Meme Mokou ใน Thumbnail วาดโดย jokanhiyou
https://twitter.com/jokanhiyou
♫ Credit song: オズネイ・ハマンはもういらない (CYTOKINE Remix) -「ShibayanRecords」
อันนี้ก็เป็นรายการที่ผมจะพูดถึงเรื่องที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นในวงการเกมช่วงไม่นานมานี้
แบบสดๆ ไม่มีสคริป เรียกได้ว่าเป็นการพูดสิ่งที่ผมคิดบวกกับรีแอคชั่นก็น่าจะได้
เพราะงั้นถ้าในวิดีโอนี้มีข้อมูลผิดพลาด หรือผมพูดผิดไปจนถึงติดขัดยังไงก็ต้องขออภัยไว้ล่วงหน้าเลย
จุดประสงค์ที่ทำรายการนี้ก็เพื่อหาคอนเทนต์ที่ไม่ใช้เวลาในการทำมากนักมาขั้นให้ท่านผู้ชม
เพราะว่าช่วงนี้ผมไม่ค่อยมีเวลาทำวิดีโอปรกติอย่างต่อเนื้องเท่าไหร่ ก็หวังว่าท่านผู้ชมจะเข้าใจถึงคุณภาพที่ลดลงของรายการ แต่ก็หวังว่าหลายๆท่านจะชอบคอนเทนต์สไตร์ Commentary แบบนี้ด้วยนะครับ
เป็นอีกสิ่งนึงที่ผมอยากทำมานานแล้ว แต่ก็ยกเลิกไป เพราะรู้สึกเหมือนคุณภาพมันไม่ถึงขั้นที่ผมพอใจ
เพราะงั้นถ้าท่านผู้ชมชอบ และอยากเห็นคอนเทนต์แนวนี้มากขึ้น ก็อย่าลืมกด Like ด้วยนะครับ
ส่วนต่างๆในวิดีโอนี้
0:00 Introduction
0:33 Resident Evil Village (7 พฤษภาคม)
1:17 Hood: Outlaws & Legends (10 พฤษภาคม)
2:11 Mass Effect: Legendary Edition (14 พฤษภาคม)
2:46 Subnautica: Below Zero (14 พฤษภาคม)
3:32 Days Gone PC (18 พฤษภาคม)
3:56 Biomutant (25 พฤษภาคม)
4:25 Castlevania Season 4 (13 พฤษภาคม)
5:32 Army of the Dead (21 พฤษภาคม)
6:23 พูดคุยช่วงท้าย+ขอบคุณสมาชิกช่อง
cytokine 在 Lockon Starfish Youtube 的最讚貼文
Twitter (สำหรับคนที่อยากได้อัพเดตเพิ่มเติม)
https://twitter.com/Lockon_starfish
สำหรับใครที่อยากสนับสนุนช่องนี้ในอีกระดับ (Membership)
https://bit.ly/2Y6AqOr
-------------------------------------------------
Meme Mokou ใน Thumbnail วาดโดย jokanhiyou
https://twitter.com/jokanhiyou
♫ Credit song: オズネイ・ハマンはもういらない (CYTOKINE Remix) -「ShibayanRecords」
อันนี้ก็เป็นรายการใหม่ที่ผมจะพูดถึงเรื่องที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นในวงการเกมช่วงไม่นานมานี้
แบบสดๆ ไม่มีสคริป เรียกได้ว่าเป็นการพูดสิ่งที่ผมคิดบวกกับรีแอคชั่นก็น่าจะได้
เพราะงั้นถ้าในวิดีโอนี้มีข้อมูลผิดพลาด หรือผมพูดผิดไปจนถึงติดขัดยังไงก็ต้องขออภัยไว้ล่วงหน้าเลย
จุดประสงค์ที่ทำรายการนี้ก็เพื่อหาคอนเทนต์ที่ไม่ใช้เวลาในการทำมากนักมาขั้นให้ท่านผู้ชม
เพราะว่าช่วงนี้ผมไม่ค่อยมีเวลาทำวิดีโอปรกติอย่างต่อเนื้องเท่าไหร่ ก็หวังว่าท่านผู้ชมจะเข้าใจถึงคุณภาพที่ลดลงของรายการ แต่ก็หวังว่าหลายๆท่านจะชอบคอนเทนต์สไตร์ Commentary แบบนี้ด้วยนะครับ
เป็นอีกสิ่งนึงที่ผมอยากทำมานานแล้ว แต่ก็ยกเลิกไป เพราะรู้สึกเหมือนคุณภาพมันไม่ถึงขั้นที่ผมพอใจ
เพราะงั้นถ้าท่านผู้ชมชอบ และอยากเห็นคอนเทนต์แนวนี้มากขึ้น ก็อย่าลืมกด Like ด้วยนะครับ
ส่วนต่างๆในวิดีโอนี้
0:00 Introduction
0:28 Godzilla vs. Kong (25 มีนาคม)
2:03 Godzilla Singular Point (1 เมษายน)
2:49 Justice league Snyder cut (18 มีนาคม)
4:39 Pacific Rim: The Black(Netflix 4 มีนาคม)
5:12 MONSTER HUNTER RISE (26 มีนาคม)
6:02 Subverse (26 มีนาคม)
6:26 พูดคุยช่วงท้าย+ขอบคุณสมาชิกช่อง
ข่าวเก่า
Monster Hunter Rise ประกาศลง PC | Anthem NEXT โดนยกเลิกการพัฒนา
https://youtu.be/OnTUxHhMxM0
CD Projekt RED โดนแฮกข้อมูลไปขาย | Kingdom Heart ประกาศลง PC
https://youtu.be/B9h17I0sw6E
Redditor ถล่มตลาดหุ้นด้วย GameStop | ข่าวลือใหม่เกี่ยวกับ GTA6?
https://youtu.be/2kIO3XFqZkY
cytokine 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最讚貼文
絶対これ、腸にやさしいやつやん…
っていう腸活ダイエットカレーを作りました。笑
前回、スパイスとか材料をカルディで買ってきたので
前編もみてね(*´▽`*)
↓コレ
https://youtu.be/ara-QS9jl4Y
今回は実際に作って食べてみています。
#ダイエット
#ダイエット食事
#腸活
-----------
▽長谷川ろみの活動概要
・元おデブ-20kg/アラフォー
・発酵ライフ推進協会 通信校 校長 &プロデュース
・東京商工会議所認定 健康経営アドバイザー
・腸活メディア「腸内革命」編集長 & 講師
・著書「発酵菌早わかりマニュアル」
・2019/6~腸活youtuber始めました!
↓こっそり裏チャンネルやってます
https://www.youtube.com/channel/UCyyarsrT2I1U5L94elPeHsA/join
Twitter:https://twitter.com/haseromi
Instagram:https://www.instagram.com/hasegawaromi/
-----------
▼関連動画
【朝カレー×ダイエット】カレーダイエットが終わりました。やってみたら意外な結果に!?
https://www.youtube.com/watch?v=c-bC-yk8s8A
【減量飯】ゆりやんが30キロのダイエットに成功した超簡単、激ウマのご飯です。
https://www.youtube.com/watch?v=rXvQ0mGjeZA
-34kg痩せた"ゆりやんレトリィバァ"さんのダイエットカレーを再現してみた!【レシピ】
https://www.youtube.com/watch?v=IMVQC9B22po
【スパイスカレーvlog】5ヶ月間スパイスカレーを食べてダイエット効果は?健康面は?5ヶ月カレー食べた僕が教えます。
https://www.youtube.com/watch?v=vqyfdZywbyo
【ダイエット中でも食べれる】痩せるカレーが最強すぎる!【ヘルシーレシピ】
https://www.youtube.com/watch?v=HKKAevyJzeQ
▼参考論文&研究
Spices in a High-Saturated-Fat, High-Carbohydrate Meal Reduce Postprandial Proinflammatory Cytokine Secretion in Men with Overweight or Obesity: A 3-Period, Crossover, Randomized Controlled Trial
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32211803/
Effects of dietary fat on gut microbiota and faecal metabolites, and their relationship with cardiometabolic risk factors: a 6-month randomised controlled-feeding trial
https://gut.bmj.com/content/68/8/1417
The Effect of Cumin cyminum L. Plus Lime Administration on Weight Loss and Metabolic Status in Overweight Subjects: A Randomized Double-Blind Placebo-Controlled Clinical Trial
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5065707///
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
cytokine 在 The COVID-19 Cytokine Storm Explained - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>