台灣創新的基礎仍待國會多多支持
由這幾天的趨勢,看起來台灣的疫情在指揮中心拼命防堵之下,只要大家維持社交好習慣的配合,應該有機會控制下來。真的是天佑台灣,在如此險峻條件下,我們守起來了!台灣屢屢展現在一堆人士的唱衰中,堅挺屹立,實在要更有信心面對艱困的未來以及不斷地挑戰。
當然,光是信心並不夠,面對未知的將來,還是要有更多準備才行。我們都習慣講見賢思齊,讓我們來看看科技的強權,美國,最近做了什麼?
上個月初(六月八日),在台灣正為疫情及疫苗之亂所困之際,美國國會通過了非常重要的《美國創新與競爭法案》。這個法案也號稱是拜登政府上任最重要政策之一。當時,因為台灣疫情緊繃,似乎沒有多少人特別關注,頂多是講一下說,美國發現半導體很重要,特別訂定專法及經費要加強推動等等。事實上,這是一個非常關鍵且重要的科學基礎紮根計畫,大體而言,這個法案有數個特點:
ㄧ、將大家熟知的美國國家科學委員會(National Science Foundation)改為國家科學及技術委員會(National Science and Technology Foundation),兩位副主委,一管科學,一管技術。法案中甚至特別強調出,技術副主委的重要職責之一是,Increasing federally-funded research and development to achieve national goals related to economic competitiveness, domestic manufacturing, national security, shared prosperity, energy and the environment, health, education and workforce development, and transportation。這與我離職前向蔡總統建議的,將科技部改制為國家科學與技術委員會,走向完全一致。科技不能只是自己專注研發,必須前接人才教育,後接經濟發展能力,這是科技時代的必要趨勢。
二、未來五年內(2022-2026),選定十項科學與技術項目(如附資料),預定至少投入1100億美元以上,交由新的NSTF用於協助高教及研發機構,針對選定項目做基礎及前瞻研究。展現美國面對未來科技的謹慎和視野,唯有回到基礎的科學根本,才能帶領人類向前跳躍,找到更多創新機會。
三、再度強化STEM教育的重要,未來五年提撥至少五十億美元,用於強化人才培育的STEM教育。STEM教育這幾年在教育界也是很響亮的口號, STEM指的分別是,Science(科學)、Technology(技術)、Engineering(工程)、Mathematics(數學),正是為來人才走近高科技的必備基礎訓練。但在台灣,STEM 不只在國教中被弱化,更在未來高教的選材上被邊緣化,據說,未來甚至於,大學端的理工生醫等重要學科的入學考試中,根本被放生!台灣十年、二十年後,高科技的人才來源岌岌可危!
對國家長程的未來那麼重要的法案,在拜登政府和國會成員上任短短不到一年內完成立法程序!當然,這也可以看成是美國全民的鼎力支持,才能讓法案順利通過。
台灣的國會、台灣的政府,我們的國會、我們的政府當然也應該做得到,也應該看得到。這不是一兩年內會有大變化、或大政績的工作,但是不做,台灣在未來的競爭力將逐年慢慢減弱。但是,無論是政府、國會,他們的力量還是來自全民的支持,唯有台灣能有一股力量支持,督促政府、國會去思考這些長程競爭力的必要工作,政府、國會才能從每天焦頭爛額
的政治爭執中跳脫出來。
美國選定的十大重點項目:
The United States Innovation and Competition Act of 2021 (USICA), formerly known as the Endless Frontier Act, passed into law on 8 June 2021. It authorizes $110 Billion for basic and advanced technology research over a five year period. It includes investment in:
1. Artificial intelligence and machine learning
2. High performance computing, semiconductors, and advanced computer hardware
3. Quantum computing and information systems
4. Robotics, automation, and advanced manufacturing
5. Natural or anthropogenic disaster prevention
6. Advanced communications technology
7. Biotechnology, genomics, and synthetic biology
8. Advanced energy technology
9. Cybersecurity, data storage, and data management technologies
10. Materials science, engineering, and exploration relevant to the other focus areas
https://www.inside.com.tw/article/23806-usa-semiconductor-investment-contend-china
foundation computer science 在 People Persona Facebook 的最佳解答
เทคโนโลยี Quantum Computing กับการปฏิวัติวงการคอมพิวเตอร์ในโลกอนาคต
ปัจจุบันโลกมีความพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีไปมาก ไม่ว่าจะเป็น การพัฒนาของ 5G, การเริ่มนำ AI เข้ามาใช้ในโรงงาน, รถยนต์ไร้คนขับ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ ที่เคยคาดการณ์ว่ากำลังจะเข้ามาแทนที่มนุษย์นั้นก็เริ่มพัฒนาก้าวหน้ามากกว่าเดิมเช่นกัน ซึ่งมีอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่คาดว่าจะเข้ามาปฏิวัติวงการคอมพิวเตอร์ สามารถเปลี่ยนแปลงโลกในอนาคตได้เลยก็ว่าได้ นั่นก็คือ เทคโนโลยี Quantum Computing
Quantum Computing คืออะไร? หลายคนสงสัยใช่ไหมละครับว่าทำไมถึงมองว่ามันมีอิทธิพลถึงขนาดเปลี่ยนโลกได้ เพราะบริษัทยักษ์ใหญ่ต่าง ๆ อย่าง Google, Microsoft และ IBM ก็หันมาลงทุนและพัฒนาเทคโนโลยีนี้กันหมด Quantum Computing เป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่ควบคุมคุณสมบัติเชิงควอนตัมให้สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันหรือใช้ประโยชน์ในงานวิจัยและพัฒนาต่าง ๆ ได้ ปกติคอมพิวเตอร์จะใช้ระบบบิต (0,1) ในการคำนวณการทำงาน ซึ่งเปรียบเสมือนการทำงานที่สามารถไปได้แค่ทางซ้ายหรือทางขวา แต่การเทคโนโลยี Quantum Computing สามารถทำให้ทั้งซ้ายและขวาทำงานพร้อมกันได้ และจัดเก็บข้อมูลทั้งซ้ายและขวาพร้อมกันได้เช่นกัน ตรงนี้เราจะเรียกมันว่า Qubit หรือ Quantum Bit นั่นเอง
ดร.จิรวัฒน์ ตั้งปณิธานนท์ (CEO & Co-founder QTFT: Quantum Technology Foundation Thailand) กล่าวไว้ว่าตอนนี้ทฤษีฎการสร้างคอมพิวเตอร์เชิงควอนตัมใกล้เป็นรูปเป็นร่าง เริ่มเห็นผลชัดเจนมากขึ้น เหลือก็แต่ทำให้มันเกิดขึ้นจริงและใช้งานได้จริง ซึ่งขั้นตอนพัฒนาในตอนนี้ ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์เชิงควอนตัมจะขึ้นอยู่กับการควบคุมจำนวนอะตอม ที่ทำงานร่วมกันอยู่ ถ้าควบคุมได้เยอะเท่าไหร่ ประสิทธิภาพในการคำนวณก็จะมีประสิทธิภาพขึ้นตามนั้น สถิติการควบคุมอะตอมสูงสุดในตอนนี้คือ 50 คิวบิต และถ้า Quantum Computer ไปถึง 100,000 คิวบิตเมื่อไหร่ โลกจะถูกพัฒนาไปทางที่ดีขึ้นอย่างแน่นอน
ยกตัวอย่างบริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง Google ที่ได้มีการเริ่มต้นโครงการ Quantum Computer ครั้งแรก เพราะต้องการที่จะพัฒนา AI ของตัวเองอยู่แล้ว จึงจัดตั้งแล็บขึ้นมาเพื่อศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับ Quantum Computing โดยเฉพาะ โดยเน้นไปทางเรื่องของ AI หรือ QuAIL (Quantum Artificial Intelligence Laboratory) ซึ่งโครงการนี้ทาง Google เองได้ร่วมมือกับ NASA เพื่อทำการวิจัยในครั้งนี้ด้วย
ในปี 2014 Google ได้เริ่มต้นวิจัย Quantum Computing เพื่อสร้าง Quantum Processor ของตัวเองขึ้นมา ใช้ชื่อว่า “Bristlecone” เพราะก่อนหน้านี้ Google ซื้อ Quantum Computing มาจาก D-Wave ตัว Quantum Processor นั้นมี Qubits อยู่เป็นจำนวนมาก แต่ทุก Qubit จะกำหนดตัวเองเป็น 1 สถานะควอนตัม แต่จะมี 2 ระดับในนั้น ถ้าเกิดวันใดวันหนึ่ง มีอนุภาคอื่นมาจับคู่เพื่อเกิดปฏิกิริยากับ Qubit สถานะควอนตัส 2 ระดับนั้น จะถูกแยกออกจากกันกลายเป็น Clean Qubit Environment โดยควบคุมให้ Qubits เหล่านั้นจับคู่กันหรือแลกเปลี่ยนพลังงานกันได้ตามต้องการ และถ้าเราไม่ได้ใช้งาน Qubit จะต้องอยู่ในสถานะคงที่ ไม่ควรมีปฏิกิริยากับอนุภาคอื่น ๆ จนกว่าจะเริ่มใช้งานมันตามต้องการอีกครั้ง
เทคโนโลยีที่ถือว่าเป็นจุดสูงสุดของการพัฒนาเทคโนโลยี Quantum Computing คือ Quantum Computer Supremacy ซึ่งเป็นการทดลองลดอัตราการเกิดข้อผิดพลาดในระบบ การทดลองเรื่องนี้นั้นมีความซับซ้อนและยุ่งยากมากขึ้นเรื่อย ๆ ถึงขนาดที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ปกตินั้นทำงานตามไม่ทันเลย วิธีที่ Google ทดลองว่าสำเร็จได้จริง ก็คือการนำวงจรไฟฟ้าที่ซับซ้อนมาทดสอบการคำนวณทั้งบนคอมพิวเตอร์ควอนตัมและคอมพิวเตอร์ปกติ แล้วเพียบความแตกต่างของระยะเวลาการคำนวณ จนถึงจุดที่คอมพิวเตอร์ปกติเทียบกับคอมพิวเตอร์ควอนตัม คำนวณว่านานเกินไปกว่าที่คนคนนึงจะรอไหว นั้นคือจุดที่ประสบความสำเร็จในการทดสอบ Quantum Computing แล้ว และ Google ก็ทดลองจนสำเร็จ โดยใช้ชิปประมวลผลชื่อว่า Sycamore Processor บรรจุไว้ถึง 53 ตัว ใน 1 การคำนวณสามารถคำนวณได้ถึง 10,000 ล้านล้าน
Quantum Computing ส่งผลกับโลกอย่างไร? เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัฒนาไปไกล สิ่งที่จะเห็นได้ชัดเลยคือ AI ที่สามารถพูดคุยและโต้ตอบกับเราได้ทันที, AI และ Machine Learning ทำงานร่วมกันสร้างยาชนิดใหม่ที่ช่วยชีวิตคนได้เพิ่มขึ้น, ระบบรักษาความปลอดภัยซับซ้อนและแน่นหนาแบบที่ไม่สามารถแฮ็กได้ และอื่น ๆ อีกมากมาย ที่จะเปลี่ยนโลกและแก้ทุกปัญหาที่เกิดขึ้นบนโลกได้ดีมากขึ้น
สุดท้ายแล้ว เทคโนโลยี Quantum Computing ยังต้องพัฒนาต่อเนื่องไปอีกหลายปี จนกว่าจะครอบคลุมการทำงานและเข้าถึงผู้ใช้งานทั่วไปได้มากที่สุด เพราะเทคโนโลยีนี้ต้องอาศัยกำลังและงบประมาณจำนวนมาก การที่จะเข้าถึงผู้ใช้งานทั่วไปอาจจะยากเกินไป แต่กลุ่มผู้ใช้งานที่เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาจจำเป็นต้องลงทุนกับเทคโนโลยีให้มากขึ้น และในอนาคต กลุ่มอุตสาหกรรมที่ลงทุนกับเทคโนโลยีประเภทนี้ จะมีโอกาสในการเติบโตและพัฒนาไปมากกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกด้วย
#peoplepersona
#เขย่งก้าวกระโดด
ที่มา : https://www.blockdit.com/posts/607fcb6fc401150a813bda68
https://thematter.co/science-tech/tech-nerd/quantum-computer/93390
https://www.beartai.com/article/tech-article/371839
https://thestandard.co/quantum-computer-1/
https://il.mahidol.ac.th/th/i-Learning-Clinic/computer-articles/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81-quantum-computing-%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88/
foundation computer science 在 91 敏捷開發之路 Facebook 的精選貼文
看看 台積電 軟體工程師徵才的 JD:
1.Develop state of the art code
2.Continue to refactor existing applications
3.Contribute to write tests to ensure software quality
4.Apply software design principles to ensure software quality
5.Ensure sustainability and performance of software applications
6.Collaborate with colleagues in design and code reviews.
7.Willing to learn new IT technology
...
1.BS/MS degree or above and major in Computer Science, Information engineering, Industry Engineering, Statistics or Mathematic related fields, similar technical field of study or equivalent practical experience.
2.Good at any listed programming languages : C++,C#, JAVA, Python, GO, JavaScript.
3.Familiar with software engineering methodologies: UP, XP or DevOps
4.Familiar with software engineering practices: CI, CD, DDD or TDD
5.Have foundation of OOP, design principles and design patterns
6.Experience managing container-based workloads, using Kubernetes or other orchestration software is a plus.
7.Good communication skills with proactive, good interpersonal and problem-solving capability.
8.With AI related experience is a plus.
9.Familiar with source code version control tools : Git
—
雖然我無法確定台積電裡面這些東西落實的程度有多少,事實上這份 JD 也是蠻大鍋炒的,但是其實仔細看,這些要求跟加分的選項,不就是這幾年我粉絲專頁上分享、技術培訓課程主題、輔導客戶的顧問案 一直在圍繞的東西嗎?
就是一些基本功,得搞到很扎實的基本功,得這些面向都顧到的基本功,得有這些基本功對應的實務經驗/創造價值的經驗,其實就可以篩掉95%的應徵者了。
很多人心心念念想要到自己理想的公司或工作內容,卻只停在想,而沒開始行動「#讓自己有資格去爭取這份工作」。
—
上面這份 JD 真要挑比較跳的地方,就是那個 AI related experience is a plus.
不過都說是 plus 了,就看看就好。扣掉這一點,如果其他的部份你都可以很紮實,說真的,是你在挑工作,不是工作在挑你。
光一個 TDD, 有多少工程師是真能在產品開發上,時程壓力中,用 TDD 來開發,而且獲得對應的好處呢?
至少讓自己能多符合一些上面 JD的技能要求吧:https://tdd.best/category/courses/
foundation computer science 在 Foundation Year Programs in Computer Science 的相關結果
A computer science foundation year can prepare students to move to further computer science coursework or possibly for entry-level employment. ... <看更多>
foundation computer science 在 BSc Computer Science with an Integrated Foundation Year 的相關結果
Study Computer Science with an Integrated Foundation Year and upon successful completion be guaranteed a place on first year of your chosen degree. ... <看更多>
foundation computer science 在 Foundations of Computer Science, 4/e (Paperback) - 天瓏 的相關結果
Based on the Association for Computing Imagery model curriculum guidelines, Foundations of Computer Science gives students a bird's eye view of Computer Science ... ... <看更多>