กรณีศึกษา ความท้าทาย ของ “แมนยู” /โดย ลงทุนแมน
ถ้าถามถึงชื่อสโมสรฟุตบอลในประเทศอังกฤษ
ชื่อแรกๆ ที่หลายคนนึกถึง คงหนีไม่พ้น แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “แมนยู”
รู้ไหมว่า 2 ปีที่ผ่านมา มูลค่าสโมสรของ แมนยู ลดลงไปแล้วมากกว่า 60,000 ล้านบาท
เกิดความท้าทายอะไรบ้าง กับ แมนยู ในช่วงที่ผ่านมา
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
พบกับ หนังสือ ลงทุนแมน 13.0 ที่อัดแน่นไปด้วยกรณีศึกษาและมุมมองธุรกิจที่น่าสนใจ
พร้อมให้คุณเป็นเจ้าของแล้ววันนี้ที่
Lazada: https://www.lazada.co.th/products/130-i1587474257-s4309842746.html
Shopee: https://shopee.co.th/Longtunman-หนังสือลงทุนแมน-13.0-i.116732911.7453767586
╚═══════════╝
ก่อนอื่นเรามาดูกันก่อนว่า
การระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลกระทบกับ แมนยู มากน้อยแค่ไหน..
อังกฤษ เป็นหนึ่งในประเทศที่การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ยังคงรุนแรง
นอกจากภาคธุรกิจต่างๆ ในอังกฤษจะได้รับผลกระทบเป็นวงกว้างแล้ว
อุตสาหกรรมฟุตบอล ที่เป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์สำคัญของอังกฤษ ก็ได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน
สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ แม้ว่ารัฐบาลอังกฤษจะอนุญาตให้ฟุตบอลลีก กลับมาทำการแข่งขันได้ แต่บรรดาแฟนบอล ยังคงไม่สามารถเข้าไปชมเกมการแข่งขันได้
โดยก่อนหน้านี้ รัฐบาลอังกฤษจะอนุญาตให้แฟนบอลเข้าชมการแข่งขัน ได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2020
แต่เนื่องจากการระบาดของ COVID-19 ในอังกฤษยังคงไม่เบาลง แฟนบอล จึงยังไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสนามต่อไป
พอแฟนบอลไม่สามารถเข้าชมเกมได้ ผลที่ตามมาก็คือ รายได้จากการขายตั๋วเข้าชมของสโมสรต่างๆ ก็ขาดหายไป
โดยเฉพาะ สนามโอลด์แทรฟฟอร์ด ของแมนยู
ซึ่งเป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาสนามของทีมฟุตบอลในพรีเมียร์ลีก
และใหญ่เป็นอันดับสองในสหราชอาณาจักร รองจากสนามกีฬาแห่งชาติเวมบลีย์
สนามโอลด์แทรฟฟอร์ด มีความจุ 74,140 ที่นั่ง
โดยปัจจุบัน ราคาค่าตั๋วเข้าชมฟุตบอลเฉลี่ยต่อใบของแมนยูอยู่ที่ประมาณ 2,200 บาท
หมายความว่า ถ้าจากเดิมมีแฟนบอลเข้ามาชมเต็มสนาม
แล้วกลับกลายเป็นไม่มีแฟนบอลเข้ามาชมเลยแม้แต่คนเดียว
แมนยูจะขาดรายได้จากการเข้าชม นัดละประมาณ 163 ล้านบาท
ถ้านับเฉพาะฟุตบอลลีก
ใน 1 ฤดูกาล แมนยู จะลงเตะในบ้านทั้งหมด 19 นัด
หมายความว่า ถ้าไม่มีแฟนบอลเข้าสนามทั้งฤดูกาล แมนยูจะขาดรายได้ส่วนนี้กว่า 3,000 ล้านบาท
ซึ่งนอกจากรายได้จากค่าตั๋วเข้าชมแล้ว
รายได้จากส่วนอื่นๆ เช่น จากการขายของที่ระลึกภายในสนามของสโมสร และรายได้จากการจัดทัวร์สนาม ก็จะได้รับผลกระทบจากการที่แฟนบอลและนักท่องเที่ยวไม่สามารถเข้ามาได้ เช่นกัน
ประเด็นต่อมา คือเรื่อง ความสำเร็จของสโมสร
รู้ไหมว่า ครั้งสุดท้ายที่แมนยูได้แชมป์พรีเมียร์ลีก หรือลีกสูงสุดของอังกฤษ เกิดขึ้นในฤดูกาล 2012-2013 หรือเมื่อ 8 ปีที่แล้ว
และการคว้าถ้วยแชมป์ครั้งล่าสุดของแมนยู
คือการได้ แชมป์ยูฟ่ายูโรป้าลีก และ แชมป์อีเอฟแอล คัพ
ซึ่งการคว้าแชมป์ทั้งสองรายการ เกิดขึ้นในฤดูกาล 2016-2017 หรือกว่า 3 ปีมาแล้ว
ซึ่งการไม่ได้แชมป์รายการใหญ่ๆ มาหลายฤดูกาล นอกจากจะทำให้แฟนบอลผิดหวังแล้ว
ในเชิงธุรกิจ ยังเป็นการพลาดโอกาสในการได้เงินรางวัล เพื่อมาเป็นรายได้ให้สโมสรอีกด้วย
อีกเรื่องที่น่าสนใจคือ ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา รายจ่ายจากการซื้อนักฟุตบอลเข้ามาในสโมสร สูงกว่ารายได้จากการขายนักฟุตบอลออกไปอย่างมาก
ฤดูกาล 2018-2019 รายได้จากการขายนักฟุตบอล 2,150 ล้านบาท รายจ่ายจากการซื้อนักฟุตบอล 3,400 ล้านบาท
ฤดูกาล 2019-2020 รายได้จากการขายนักฟุตบอล 3,300 ล้านบาท รายจ่ายจากการซื้อนักฟุตบอล 8,800 ล้านบาท
เท่ากับว่า ใน 2 ฤดูกาลที่ผ่านมา แมนยูขาดทุนจากการซื้อขายนักเตะไปแล้วเกือบ 7,000 ล้านบาท
แล้วผลประกอบการของ แมนยู เป็นอย่างไร?
รายได้และกำไรของสโมสรแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
ปี 2017 รายได้ 23,800 ล้านบาท กำไร 1,600 ล้านบาท
ปี 2018 รายได้ 24,000 ล้านบาท ขาดทุน 1,500 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 25,700 ล้านบาท กำไร 770 ล้านบาท
จะเห็นว่า รายได้ของแมนยู เติบโตขึ้นเล็กน้อย
แต่กำไร กลับมีแนวโน้มลดลงชัดเจน
ความท้าทายที่เกิดขึ้น ทั้งเรื่องที่แฟนๆ
ไม่สามารถเข้าชมเกมการแข่งขันได้
ฟอร์มการเล่นที่ไม่คงเส้นคงวาเท่าที่ควร
และการขาดทุนจากการซื้อขายนักเตะ
ทั้งหมดนี้ ไปกระทบกับความเชื่อมั่นของนักลงทุน ที่ลงทุนในสโมสรแมนยู
รู้ไหมว่า หุ้นของแมนยู จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก (NYSE)
โดยในปี 2018 หรือเมื่อ 2 ปีที่แล้ว มูลค่าของแมนยู เคยขึ้นไปสูงถึง 136,000 ล้านบาท
แต่หลังจากที่แมนยู เจอกับความท้าทายหลายเรื่องที่ว่ามา
มูลค่าบริษัทในตอนนี้ จึงลดลงจนเหลือ 75,000 ล้านบาท
หรือคิดเป็นการหายไปของมูลค่า มากกว่า 60,000 ล้านบาท เลยทีเดียว..
╔═══════════╗
พบกับ หนังสือ ลงทุนแมน 13.0 ที่อัดแน่นไปด้วยกรณีศึกษาและมุมมองธุรกิจที่น่าสนใจ
พร้อมให้คุณเป็นเจ้าของแล้ววันนี้ที่
Lazada: https://www.lazada.co.th/products/130-i1587474257-s4309842746.html
Shopee: https://shopee.co.th/Longtunman-หนังสือลงทุนแมน-13.0-i.116732911.7453767586
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://finance.yahoo.com/quote/manu?ltr=1
-https://ycharts.com/companies/MANU/market_cap
-https://www.cityam.com/worlds-richest-football-clubs-2020/
-https://www.gov.uk/government/news/coronavirus-covid-19-what-has-changed-22-september
-https://en.wikipedia.org/wiki/Old_Trafford
-https://www.statista.com/statistics/328644/premier-league-teams-ranked-by-most-expensive-ticket-price/
-https://sportstar.thehindu.com/football/epl/premier-league-finances-clubs-record-revenue-deloitte-report-coronavirus-outbreak-uk-covid-19/article31801107.ece
-https://www.transfermarkt.com/manchesterunited/transfers/verein/985/plus/0?saison_id=2019&pos=&detailpos=&w_s=
-https://resources.premierleague.com/premierleague/document/2020/09/11/dc7e76c1-f78d-45a2-be4a-4c6bc33368fa/2020-21-PL-Handbook-110920.pdf
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「premier league wiki」的推薦目錄:
premier league wiki 在 賴叔閱事 Facebook 的精選貼文
“Sunderland ’til I die” (Season 1) — 至死不渝
Medium: link.medium.com/gPA41CT8G5
//
Netflix 嘅紀錄片 (我更加覺得係紀實連續劇,英文字 “Docuseries” 大概都係咁解) 相當之多元化而且製作認真,作為一個體育迷,賴叔喺 “Drive to Survive” 之後,搵到以英格蘭球會新特蘭為主角嘅 docuseries “Sunderland ’til I die” (以下簡稱 “STID” ,我好懶) 為觀看。
STID 目前拍咗兩季,第一季有八集,第二季有六集,分別紀錄咗 2017–18 及 2018–19 兩個球季嘅故事。如果對英格蘭球壇唔太熟悉嘅朋友,我建議就咁直踩 14 集,唔好手多多走去摷最新嘅新聞嚟睇。原理,就同入戲院之前唔好睇劇透影評差唔多。一旦知道現狀, STID 眾多畫面及懸疑鏡頭就失去咗意義架喇。
至於本身跟貼球壇消息嘅朋友,我覺得 STID 觀賞價值係一般般嘅,畢竟入面講嘅嘢唔算特別深入,喺每集 30 分鐘嘅空間入面,能夠交代嘅事情亦都有限。如果你係東北部球會紐卡素或米杜士堡嘅球迷,鍾意喺宿敵嘅傷口上灑鹽,咁呢套 docuseries 對你哋嚟講又有另一番風味。
- - -
喺劇透之前,或者都簡單交代下我對新特蘭嘅認識 (即係冇經過 Google / Wiki / research 之下就咁講) 。呢支綽號「黑貓」嘅球會,係著名嘅「升降機」,過去廿幾年以來,反覆來回頂級嘅英超同次級嘅英冠都好幾次。 1990 年代末佢哋有高矮雙煞 Niall Quinn 同 Kevin Philips 孖寶在陣,守門員係丹麥國腳蘇連遜,以中小型球會嚟講都總算曾經光輝過。
新特蘭嘅主場 “Stadium of Light” 中文直譯「光明球場」,容量達 49,000 人,喺英格蘭球壇嚟講絕對唔失禮,另一支老牌球會愛華頓嘅主場葛迪遜公園 (Goodison Park) 爆棚都唔到四萬人,同樣來自東北嘅紐卡素主場聖占士公園 (St. James’ Park) 容量亦都係 52,000 左右。可想而知,新特蘭呢間球會嘅規模,或者比上不足,但比下,絕對有餘。
不過 STID 第一季嘅背景,就係講緊新特蘭剛剛喺英超降班,行政總裁 Martin Bain 著手重建球會,爭取盡快重返英超行列。背後嘅壓力,主要都係一個字:錢。英超 (English Premier League) 作為歐洲四大聯賽之一,商業價值龐大,電視轉播權嘅收益相當可觀。降班之後,雖然有所謂嘅 “parachute payment” (合共 9,100 萬英鎊,喺球會降班後三年分批發放) 補助,確保球會財政上「軟著陸」,但係開源節流嘅功夫都係必不可少。
喺一般嘅情況之下,公司縮皮,裁員就係最容易嘅方法。但係足球球會嘅世界有少少唔同。由於球員一般都係用有年期嘅合約同球會簽約,除非有條款訂明,否則球會降班之後都冇得夾硬將球員嘅工資下調。相反,球員如果有其他球會青睞,大可以要求轉會他投。喺僱傭關係嘅天秤上,降班後嘅新特蘭明顯地處於弱勢。
接掌球隊帥印嘅教練 Simon Grayson 手頭上就係有一大班唔多願意陪新特蘭降落次級聯賽但係又人工豐厚嘅球員。點樣鼓動佢哋同舟共濟?點樣配合會方削減開支嘅要求,而限米煮限飯?呢啲問題,喺班主 Ellis Short 入主近十年之後決定拒絕再泵水施救嘅情況下,變得更加嚴重。 (值得一提, Ellis Short 曾經係私募基金 Lone Star 嘅副主席)
- - -
球會風雨飄搖,最受傷嘅,其實係球迷。
新特蘭位處英格蘭東北部,昔日係造船業嘅重鎮,但隨住英國經濟轉營,區內經濟好景不再,居民嘅收入自然係好極有限公司。作為市內唯一一支職業球隊,新特蘭成為咗眾人嘅精神寄託。由星期日返教會嘅信眾,到凍肉店嘅員工,無不對球會成敗榮辱牽腸掛肚。
STID 一直追訪幾個新特蘭老牌球迷,個個都買咗十幾廿年 (或更長時間) 嘅季票。睇住佢哋由英冠球季開鑼滿有信心,到球會成績疲弱不振而時有挫敗、氣餒但對「黑貓」始終不離不棄,喺香港嘅各位觀眾可會諗返,香港人有啲咩嘢球隊可以撐?或者都係香港足球代表隊同埋一眾為港爭光嘅運動員啩⋯⋯
除咗球迷, STID 亦花唔少時間追訪球會嘅工作人員。喺體育行業,球員同教練固然係焦點。但係球會營運嘅部份,其實都有好多員工喺幕後幫手,例如話掌管廚房嘅 Joyce 、負責門票、管理嘅團隊等等。對於佢哋嚟講,能夠盡可能幫助球員以最好嘅狀態迎戰每場比賽,能夠為球會賣出最多嘅門票,已經係盡咗佢哋嘅本份。至於球隊嘅成績、升班降班,佢哋只能夠甘苦與共 — — 如果球會冇因為節省成本而裁員嘅話。
- - -
某程度上,我覺得 “STID” 搵新特蘭作為 Docuseries 嘅主題算係神來之筆。因為「黑貓」喺 2017–18 球季嘅進展,絕對講得上係 dramatic 。由第一集睇到第八集,大家會清楚見到眾人嘅精神面貌如何變化,當初嘅信誓旦旦或信心滿滿,到最後如何變成肉隨砧板上,不得不逆來順受。
新特蘭嘅興衰背後,固然有不幸嘅地方,但更多嘅係球會承受昔日自己大花筒、藥石亂投嘅惡果。但凡球員並非同心同德,而係各懷鬼胎,打算大難臨頭各自飛,喺狗咬狗、腳踢腳嘅英冠聯賽,球隊實在難以生存。即使球隊換上有來頭、有魅力嘅教練 Chris Coleman 都好,球隊唔能夠保住勝果,後防又漏晒水咁,就只可以換來一班至死不渝嘅忠心球迷嘅一泡眼淚。
Credit: https://flic.kr/p/cUdU45 by Ronnie Macdonald
- - -
想睇更多賴叔時政見聞、金融掃盲及職場文章,請訂閱 Patreon:
https://www.patreon.com/shuklai
#hk #hongkong #patreon #blogger
premier league wiki 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
ทำไม General Motors ไม่พอใจแมนยู / โดย ลงทุนแมน
ผลงานของทีมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดที่ไม่ค่อยดี
ไม่เพียงแต่ทำให้แฟนบอลของทีมไม่ค่อยพอใจ
แต่ยังรวมไปถึง บริษัทรถยนต์ชื่อดังอย่าง General Motors ด้วย
แล้วเรื่องนี้เกี่ยวข้องกันได้อย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
เรื่องนี้ต้องย้อนไปในปี 2012 เมื่อ CHEVROLET แบรนด์รถของ General Motors ได้ตกลงที่จะเข้ามาเป็นสปอนเซอร์บนเสื้อของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดตั้งแต่ปี 2014-2021 เป็นระยะเวลา 7 ปี
ซึ่งข้อตกลงดังกล่าว มีมูลค่าสัญญากว่า 15,700 ล้านบาท หรือเฉลี่ยปีละ 2,243 ล้านบาท
ถ้าเทียบกับ AON บริษัทรับประกันภัยรายใหญ่ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นสปอนเซอร์บนเสื้อของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ในช่วงระหว่างปี 2009-2013 นั้น สัญญาดังกล่าวกลับมีมูลค่าเพียง 3,110 ล้านบาท ตลอด 4 ปี หรือเฉลี่ยปีละ 778 ล้านบาทเท่านั้น
นั่นหมายความว่า CHEVROLET นั้นจ่ายค่าสปอนเซอร์แพงกว่า AON ถึง 3 เท่า
ที่น่าสนใจคือ ไม่ถึง 2 วันหลังจากที่ CHEVROLET เข้าทำสัญญา ผู้บริหารที่ทำสัญญากับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดจึงถูกไล่ออกทันที
ทั้งนี้ สัญญาของ CHEVROLET นั้นจะหมดลงใน 2 ปีข้างหน้า ซึ่งล่าสุด มีแนวโน้มว่า General Motors จะไม่ให้ CHEVROLET ต่อสัญญากับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เนื่องจากไม่พอใจในผลงานที่ตกต่ำของสโมสรในช่วงที่ผ่านมา
ที่เห็นชัดเจนคือ ในช่วงระหว่างที่ AON เป็นสปอนเซอร์นั้น แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดได้แชมป์พรีเมียร์ลีกซึ่งเป็นลีกสูงสุดของอังกฤษ 2 ครั้ง
ขณะที่ยังไม่เคยได้แชมป์ดังกล่าวเลยนับจาก CHEVROLET เข้ามาเป็นสปอนเซอร์..
แล้วที่ผ่านมารายได้และกำไรของ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เป็นอย่างไร
ปี 2017 รายได้ 22,626 ล้านบาท กำไร 1,526 ล้านบาท
ปี 2018 รายได้ 22,969 ล้านบาท ขาดทุน 1,525 ล้านบาท
ปี 2019 รายได้ 24,390 ล้านบาท กำไร 737 ล้านบาท
แม้ว่ารายได้ของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ยังเพิ่มขึ้น สาเหตุหลักเนื่องจาก รายได้ของสปอนเซอร์ การขายของที่ระลึก สินค้าของสโมสร
อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารมองว่า อนาคตรายได้อาจลดลงเนื่องจากสโมสรไม่ได้เข้าร่วมรายการฟุตบอลรายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ซึ่งรายการนี้จะสามารถทำรายได้ให้กับสโมสรทั้งทางตรงและทางอ้อม
ทุกคนรู้ดีว่า แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดจดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ New York ย้อนหลังไปก่อนหน้านั้นประมาณ 1 ปี มูลค่าหุ้นของสโมสรเคยเพิ่มสูงถึง 130,000 ล้านบาท
ขณะที่ปัจจุบัน มูลค่าของสโมสรลดลงเหลือเพียง 80,000 ล้านบาท ซึ่งหายไปกว่า 50,000 ล้านบาท
แสดงให้เห็นว่า นักลงทุนกังวลถึงผลประกอบการในอนาคตที่อาจยังไม่ดี จากผลงานในสนาม ณ เวลานี้
ซึ่งแฟนบอลของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดก็ต้องเอาใจช่วยกันต่อไปให้ผลงานในสนามดีขึ้น เพื่อทำให้สโมสรกลับมาประสบความสำเร็จทั้งในสนามและนอกสนามอีกครั้งหนึ่ง
ปิดท้ายด้วยข้อมูลที่น่าสนใจ
รู้ไหมว่า ปัจจุบัน มูลค่าของสัญญาสปอนเซอร์บนเสื้อของสโมสรฟุตบอลที่แพงที่สุดต่อปีคือ สัญญาระหว่างสโมสรรีลมาดริดจากสเปน
โดยสัญญาระหว่างรีลมาดริดกับ Fly Emirates ผู้ให้บริการสายการบินเอมิเรตส์นั้น สูงถึงปีละ 2,540 ล้านบาท ตั้งแต่ช่วงปี 2017-2022
ทำไมสายการบินเอมิเรตส์ถึงจ่ายค่าสปอนเซอร์มากขนาดนี้ได้?
สายการบินเอมิเรตส์มีรายได้ 902,000 ล้านบาท ค่าสปอนเซอร์ดังกล่าวคิดเป็นเพียง 0.28% ของรายได้สายการบินเอมิเรตส์เท่านั้นเอง..
┏━━━━━━━━━━━━┓
Blockdit โซเชียลมีเดีย รูปแบบใหม่
Blockdit.com/download
┗━━━━━━━━━━━━┛
References
-https://finance.yahoo.com/quote/manu/financials/
-http://manunitedbusiness.blogspot.com/2013/02/uniteds-5-shirt-Sponsors-in-134-year.html
-https://www.independent.co.uk/sport/football/premier-league/manchester-united-shirt-Sponsor-contract-chevrolet-how-much-a9151201.html
-https://en.wikipedia.org/wiki/Aon_(company)
-https://www.marca.com/en/football/international-football/2019/07/11/5d27616646163f138c8b45aa.html
-https://www.macrotrends.net/stocks/charts/MANU/manchester-united/market-cap
-https://the18.com/soccer-entertainment/most-expensive-shirt-sponsorship-deals-2019
-https://www.forbes.com/sites/mikeozanian/2019/05/29/the-worlds-most-valuable-soccer-teams-2019/#39fce3fc40d6
-https://www.emirates.com/media-centre/emirates-group-announces-2018-19-results/
premier league wiki 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
premier league wiki 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
premier league wiki 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
premier league wiki 在 Premier League Football News, Fixtures, Scores & Results 的相關結果
For all the latest Premier League news, visit the official website of the Premier League. ... <看更多>
premier league wiki 在 Premier League | Football Wiki - Fandom 的相關結果
The Premier League is an English professional league for men's association football clubs. At the top of the English football league system, it is the ... ... <看更多>
premier league wiki 在 Premier League - Wikipedia 的相關結果
The Premier League is the highest level of the English football league system. Contested by 20 clubs, it operates on a system of promotion and relegation ... ... <看更多>