🌻年報導讀
之前提過, 本來想秋天來做這樣的導讀, 但台灣疫情太嚴重, 這個時候做, 或許比較好, 這樣有興趣的人可以利用在家的時間來學習, 也可以轉移對疫情的注意力.
美國上市公司的年報資訊很透明. 通常看完一份年報, 就能掌握八成的公司狀態了. 公司給的官方資訊也比網路上的優質&有系統.
這次會以一家成長型公司的年報為主軸, 其他公司的為輔, 來帶大家看年報, 並分享自己是如何抓公司的營運重點. 屆時也會有有看年報經驗的股友一起做分享.
(By the way, 我說的年報導讀, 是說看10-K(以下以PINS為例). 主要是知道公司的業務, 還有該注意的營運關鍵數字:
https://d18rn0p25nwr6d.cloudfront.net/CIK-0001506293/0c811ec8-0109-4e9a-8f81-974b15595671.pdf
Anyway. 只是想先溝通一下會比較好. 要參加的人, 也比較有心理準備.)
年報導讀
🎯目的: 推廣看年報的好處,並藉此了解公司營運核心, 以掌握財富; 推廣疫情期間在家自學.
🎯對象: 想要了解個股基本面的美股投資人.英文能力不是問題: 可透過這次的導讀, 讓您之後找中文資料時, 能夠進入狀況. 或是之後可利用Google Translator來做輔助.
🎯時間: 台灣時間本周日(06/06)早上10點. 美國的朋友也歡迎(美東時間周六晚上10點, 美西時間晚上7點). 計畫1~1個半小時.
🎯進行方式 : Zoom (抱歉我不會露臉😅)
請用這連結加入會議: https://www.zoom.us/join
Meeting ID: 490 064 3121
Meeting passcode: 4n0tRe(輸入的時候請注意大小寫. 中間那個是數字"0")
(如果屆時不方便, 我會將影片錄下來, 之後可以觀看)
🌻本周做的功課與閱讀
https://makingsenseofusastocks.blogspot.com/2021/05/blog-post_27.html
🌻曾獲諾貝爾經濟學獎的美國心理學家 Daniel Kahneman, 最近接受了Barron's的專訪, 談了一下他的新書"Noise".
https://www.barrons.com/articles/economist-daniel-kahneman-says-noise-is-wrecking-your-judgment-heres-why-and-what-to-do-about-it-51622228892
印象比較深的幾段有:
1. 討論也是會帶來所謂的噪音("in some cases, discussions can cause noise.")
-->This makes me wonder: 大家在一起討論個股時, 是否真的對自己有幫助?
一位財經名嘴的方法挺好: 他會自己先把公司的資料看過一遍後, 歸納出自己的想法. 也讓自己不受到媒體的報導所影響.
2. Overconfidence spins from the fact that we tend to latch onto one interpretation of a situation. We do not see alternatives.
過於自信其實是只看到一種情境的展現, 因為這表示自己沒有看到另外幾種情境.
3. One way to discipline your thinking is independence—making sure that if you’re consulting different people, they are independent of each other. Or if you are looking at different characteristics of an investment, that you evaluate them independently of each other.
一種讓自己思考能夠有紀律的方法是獨立--也就是在跟不同的人徵詢意見時, 這些人的思考也是要互相獨立的. 不是同溫層.
運用在投資上就是, 在考量一家公司的各種特點時, 要獨立去看這些特點.
4. 這段也寫的挺好. 可用在挑股上. 也就是, 挑股時, 不能只把眼光侷限在單一個股上. 而是要把公司拿來跟其他公司一起做比較.
Aggregate judgements wherever possible. Making judgements comparatively, rather than absolutely, is [also] a very good procedure. People are much better at saying that A is riskier than B, rather than putting an exact number on how risky A is and how risky B is. Use comparative risk and relative risk, rather than putting absolute numbers on things. Simple rules tend to be very good; people who are not governed by rules tend to be extremely noisy in their judgements. When you become conscious of the problem of noise, you become conscious of the value of rules and of discipline.
Picture: 花栗鼠(chipmunk)
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過4萬的網紅Raymond Regulus,也在其Youtube影片中提到,HK Census and Statistics Department: https://www.censtatd.gov.hk/hkstat/sub/sp260.jsp?productCode=B1040004 BIS early warning in March 2018: https://w...
the economist pdf 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
สิงคโปร์ ประเทศที่มีความมั่นคงทางอาหาร มากที่สุดในโลก /โดย ลงทุนแมน
รู้หรือไม่ สิงคโปร์ ได้รับการจัดอันดับว่าเป็นประเทศที่มีความมั่นคงทางอาหารมากที่สุดในโลก
ทั้งๆ ที่สิงคโปร์มีพื้นที่ทางการเกษตรเพียง 6.6 ตารางกิโลเมตร
ซึ่งใหญ่กว่าพื้นที่ของสนามบินดอนเมืองเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ในขณะที่ ไทย ถือเป็นประเทศที่ขึ้นชื่อว่าเป็นครัวของโลก
เรามีพื้นที่ทางการเกษตรมากถึง 221,100 ตารางกิโลเมตร
หรือคิดเป็นสัดส่วน 43.3% ของพื้นที่ทั้งประเทศ
อย่างไรก็ตาม จากการจัดอันดับของ EIU (Economist Intelligence Unit)
หน่วยงานวิเคราะห์เศรษฐกิจของนิตยสารระดับโลกอย่าง The Enonomist
ไทย มีความมั่นคงทางอาหารอยู่ที่อันดับ 52 ของโลก
ทั้งๆ ที่มีพื้นที่ทางการเกษตรมากกว่า สิงคโปร์ ถึง 33,500 เท่า
เรื่องนี้น่าสนใจอย่างไร? ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ก่อนอื่นมาทำความเข้าใจว่า
ความมั่นคงทางอาหารคืออะไร?
ความมั่นคงทางอาหาร ไม่ใช่แค่เรื่องของการมีอาหารรับประทานเท่านั้น
แต่คือการที่ผู้คนสามารถรับประทานอาหารได้ทุกเมื่อที่ต้องการ
ซึ่งอาหารนั้นจะต้องปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ
โดย FAO หรือ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
ได้แบ่งความมั่นคงทางอาหารออกเป็น 4 มิติ
1. ความเพียงพอ คือ ปริมาณอาหารต้องมีเพียงพอสำหรับทุกคนตลอดเวลา
2. การเข้าถึง คือ ผู้คนสามารถซื้ออาหารมาบริโภคได้
3. การใช้ประโยชน์ คือ อาหารที่บริโภคนั้นต้องสะอาด ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ
4. เสถียรภาพ คือ ผู้คนสามารถเข้าถึงอาหารได้ตลอดเวลา
แล้วทำไมสิงคโปร์ถึงมีความมั่นคงทางอาหารมากสุดในโลก?
สาเหตุแรก คือ สิงคโปร์ได้เปิดเสรีการนำเข้าสินค้าอาหาร
ซึ่งการนำเข้าจะไม่เสียภาษี ทำให้ราคาสินค้าไม่ต้องถูกบวกภาษีขึ้นไปอีก
เรื่องนี้ทำให้สิงคโปร์สามารถเพิ่มปริมาณอาหารในประเทศได้ครั้งละมากๆ อย่างรวดเร็ว
อีกทั้งยังมีการควบคุมคุณภาพของอาหารนำเข้า
ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงที่ประชาชนจะบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้อีกด้วย
อย่างไรก็ตาม ความท้าทายของการพึ่งพาการนำเข้าอาหารคือ การสร้างเสถียรภาพในระยะยาว
ดังนั้น สิงคโปร์จึงมีการกระจายความเสี่ยงผ่านการนำเข้าอาหารจากหลายๆ แหล่งผลิตทั่วโลก
ผ่าน “นโยบายการสร้างความหลากหลายของแหล่งนำเข้าสินค้าอาหาร”
ถ้าเกิดเหตุการณ์ที่บริษัทหรือประเทศใดก็ตาม ไม่สามารถส่งอาหารให้กับสิงคโปร์
ก็ยังสามารถนำเข้าอาหารจากแหล่งอื่นๆ ทดแทนได้
นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปร์ยังมีนโยบายสนับสนุนภาคการเกษตรในประเทศ
รวมถึงให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา เช่น การส่งเสริมฟาร์มคนเมือง
เพื่อให้ในอนาคตสิงคโปร์จะสามารถลดการพึ่งพาการนำเข้าอาหาร
เหตุผลสำคัญอีกอย่างคือ ประชาชนสิงคโปร์ส่วนใหญ่มีรายได้สูง
โดยเมื่อดูจาก GDP ต่อหัวของสิงคโปร์จะอยู่ที่ 1.8 ล้านบาทต่อปี
ดังนั้น ประชาชนสิงคโปร์จึงมีกำลังซื้ออาหารที่สูง
แปลว่าถ้าราคาสินค้าอาหารในตลาดโลกสูงขึ้น
ประชาชนในสิงคโปร์จะได้รับผลกระทบไม่รุนแรงเท่าประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่มีรายได้ต่ำ
หรือเรียกง่ายๆ ว่า สิงคโปร์จะเป็นประเทศท้ายๆ ที่เจอปัญหาขาดแคลนอาหาร เพราะคนสิงคโปร์รวย และสามารถนำเข้าอาหารได้ทันทีถ้าต้องการนั่นเอง
จะมีสิ่งเดียวที่ลงทุนแมนพอจะนึกออกว่า เป็นความเสี่ยงของสิงคโปร์ก็คือ ในวันที่ทุกประเทศต่างพากันไม่ส่งออกอาหาร เก็บกักอาหารไว้ในประเทศตนเอง จะทำให้สิงคโปร์ไม่สามารถนำเข้าได้ ถึงแม้ว่าจะมีเงินมากแค่ไหนก็ตาม
แต่เรื่องนี้ก็คงเกิดขึ้นได้ยากในยุคสมัยนี้
ยุคสมัยที่การค้าขายระหว่างประเทศเป็นไปอย่างอิสระ และราคาสินค้าเป็นไปตามกลไกตลาดโลก
ซึ่งเราจะเห็นตัวอย่างได้จากราคาข้าว ยางพารา น้ำมัน ที่มีการนำเข้าส่งออกกัน และมีราคากลางของตลาดโลก
ซึ่งถ้าสิงคโปร์ยอมจ่ายเงินสูงขึ้น ก็จะมีประเทศที่ยอมขายอาหารให้กับสิงคโปร์อยู่ดี
เรื่องทั้งหมดนี้ทำให้ประเทศเล็กๆ อย่างสิงคโปร์ ที่มีข้อจำกัดทางด้านพื้นที่และทรัพยากร
กลับก้าวขึ้นมาเป็นประเทศที่มีความมั่นคงด้านอาหาร 2 สมัยซ้อน นับตั้งแต่ปี 2018..
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://data.worldbank.org/indicator/AG.LND.AGRI.ZS?end=2015&locations=SG-TH&start=2013
-https://data.worldbank.org/indicator/AG.LND.AGRI.K2?end=2016&locations=SG-TH&start=1961&view=chart
-http://www.fao.org/fileadmin/templates/faoitaly/documents/pdf/pdf_Food_Security_Cocept_Note.pdf
-https://foodsecurityindex.eiu.com/Country
-https://foodsecurityindex.eiu.com/Index
-https://foodsecurityindex.eiu.com/Home/DownloadResource?fileName=EIU%20Global%20Food%20Security%20Index%20-%202018%20Findings%20%26%20Methodology.pdf
-วิทยานิพนธ์ เรื่อง การเปิดเสรีสินค้าอาหารเพื่อความมั่นคงทางอาหารของสิงคโปร์ โดยว่าที่ร้อยตรี หญิงสุดารัตน์ เกศสิริกุล
the economist pdf 在 JC 財經觀點 Facebook 的最讚貼文
【好物分享】
一直有閱讀The Economist(經濟學人)雜誌的習慣,從以前都在書展訂,到現在網路直接下訂超方便,而且可以即時吸收最快的資訊,包括國際、產業甚至投資的文章,經濟學人的解析都相當紮實。
如果覺得閱讀量太大,有個非常棒的免費資源介紹給大家,最近我運動時都會聽財經起床號早上8點到9點的分享,每天都是不同主題,每個禮拜三就是解讀當周經濟學人的內容,挑出重點文章介紹。
這周是介紹中國的出行產業,讀完會相當有收穫。而且這禮拜剛好來賓丁學文先生也提供了pdf檔案給觀眾可以收藏,分享給大家,真的很值得一讀👍👍👍
👉 摘錄重點:
"中國的計畫是為出行創造一個生態系統,包括汽車、應用程式、數據、標準、通信等,而且最好可以部署在全世界各地。
如果汽車製造業只面臨一場巨大的技術變革,那麼來自一個歷史記錄不長國家的如此雄心壯志可能顯得有些狂妄自大。但電動化和自動駕駛的雙重挑戰,正把西方現有企業壓得喘不過氣來,一些企業(或許很多企業)可能會崩潰。
中國汽車製造商和科技巨頭將面臨來自西方同行的激烈競爭,而這些西方同行在創造出行產業的未來競賽中目前仍然處於領先地位。
但是如果中國公司比他們的競爭對手做得更快、更便宜,他們將來存在的證據就不會僅僅延伸在中國的公路上,也可能會延伸到世界其他地方的高速公路上面。"
✅文章連結✅
🔗 https://pse.is/ETEWP
✅YouTube連結✅
🔗 https://youtu.be/MnrQckJ2_oE
#財經起床號 #經濟學人 #TheEconomists
the economist pdf 在 Raymond Regulus Youtube 的最佳貼文
HK Census and Statistics Department:
https://www.censtatd.gov.hk/hkstat/sub/sp260.jsp?productCode=B1040004
BIS early warning in March 2018:
https://www.bis.org/publ/qtrpdf/r_qt1803.pdf
Joseph Yam warns of challenges for Hong Kong dollar stability:
https://www.scmp.com/business/money/stock-talk/article/2148882/joseph-yam-warns-challenges-hong-kong-dollar-stability
My Facebook: www.facebook.com/raymond.regulus.80
Email: raymondregulus@gmail.com
No Chinese Media discussed or even mentioned this Hong Kong 1.7 trillion USD debt for God knows how many years. Media and Journalism is DEAD even in HK. The Chinese Super Rich aka the Establishment do not want you to know. Sell your assets, stocks, shares, real estate properties in HK and China, move the money all out of HK like Li Ka Shing did! DO NOT stay in HK and China banking system! Look it up yourself, but warn you, YOUR TIME is up!
I also challenge these establishment media to report this in details:
South China Morning Post, Bloomberg, FOX business, The Wall Street Journal, The New York Times, The Economist, Reuters, Yahoo! Finance, Forbes, Financial Times, CNBC, Business Insider
the economist pdf 在 economist-ebooks · GitHub Topics 的推薦與評價
... 纽约客、卫报、连线、大西洋月刊等英语杂志免费下载,支持epub、mobi、pdf格式, 每周更新 ... A MDUI-based webpage for The Economist "The world in brief". ... <看更多>