มหาภัยเคยเกิดขึ้นและเคยมีพุทธวิธี ด้วยพุทธปริตรมนต์ ปรากฏในพระไตรปิฎก ให้ลองศึกษา สวดพระพุทธมนต์ เป็นแนวทางที่ ๑ ตามความเชื่อความศรัทธา
(ใครคิดต่างเชื่อต่าง ก็ไม่ต้องทำ ไม่ต้องเชื่อ ไม่ต้องมาคอมเมนต์อะไร ผมส่งความปรารถนาดีในแนวทางแห่งองค์ความรู้ ที่พึงมีและพึงปฏิบัติครับ และเชื่อได้ว่า ไม่นานต่อจากนี้ คณะสงฆ์ ในวัดต่างๆ คงได้เจริญพระพุทธมนต์บทนี้ เพื่อความเป็นมงคลแก่พุทธศาสานิกชน)
ลักษณ์ ราชสีห์
รัตนสูตร เป็น พระสูตร ใน พระสุตตันตปิฎก หมวด ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และยังปรากฏในหมวดสุตตนิบาต เป็นพระคาถาจำนวน 17 บท
แต่ปรากฏในพากย์ภาษาสันสกฤตจำนวน 19 บท ดังที่มีอยู่ในคัมภีร์ มหาวัสตุอวทาน ของนิกาย โลโกตตรวาท และนิกาย มหาสังฆิกะ
พระสูตรนี้พรรณนาคุณของ พระรัตนตรัย และป่าวประกาศความยิ่งใหญ่ และคุณลักษณะของพระอริยะเจ้า มีพระโสดาบัน เป็นอาทิ
จุดประสงค์ของการประกาศพระสูตรนี้ก็เพื่อโปรดชาวเมืองเวสาลีให้รอดพ้นจากภยันตรายทั้งหลวงทั้งปวงที่กำลังรุมเร้าเมืองแห่งนี้
และเพื่อยังให้ชาวเมืองทั้งหลายได้มีดวงตาเห็นธรรม
รัตนสูตร หรือรัตนปริตร จัดเป็นหนึ่งในพระ ปริตร หรือพระคาถาพรรณนาอานุภาพของพระ รัตนตรัย
โดยได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในพระคาถาหลักของคัมภีร์จตุภาณะวารปาลี
หรือตำรารวบรวมพระปริตรที่เป็นที่นิยมสวดสาธยายกันในศรีลังกา รวบรวมขึ้นในช่วงยุคกลางของประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
หรือในยุคที่พระพุทธศาสนากำลังรุ่งเรืองในลังกา นอกจากนี้ ยังมี อรรถกถา อธิบายพระปริตรนี้ในคัมภีร์ ปรมัตถโชติกา
อรรกถาขุททกนิกาย
ครั้งหนึ่งกรุง เวสาลี นั้นเกิด ทุพภิกขภัย ฝนแล้งข้าวกล้าตายเกลื่อนกลาด จนชาวเมืองมากมายต้องล้มตาย
ต้องนำศพไปทิ้งนอกเมือง ครั้นพวกอมนุษย์ได้กลิ่นคนตายก็พากันเข้าพระนคร รบกวนมนุษย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ต่าง ๆ นา ๆ
แต่นั้นผู้คนก็ล้มตายเพิ่มมากขึ้น ทั้งเพราะความอดอยาก ทั้งเพราะความปฏิกูลจนเกิด อหิวาตกโรค และทั้งจากอมนุษย์เบียดเบียน
ชาวเมืองจึงพากันไปกราบทูลพระราชาว่า แต่ก่อนนี้ นับได้ 7 ชั่วราชสกุล ไม่เคยเกิดภัยเช่นนี้เลย
ชะรอยพระองค์ไม่ทรงตั้งอยู่ในธรรม ครั้นพระราชาทรงเรียกพระประยุรญาติเจ้าเจ้าลิจฉวีมาประชุมโดยพร้อมกัน เพื่อพิจารณาว่า
พระองค์ได้ตั้งอยู่ในความบกพร่องหรือไม่ แต่ไม่ปรากฏว่าพระราชาทรงมิได้กระทบกพร่องแต่อย่างใด
จึงมีการถกเถียงกันถึงหนทางที่จะปัดเป่าภยันตรายที่เกิดขึ้น สุดท้าย
บรรดาเจ้าลิจฉวีจึงตกลงให้เชิญเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาโปรด
เมื่อเจ้าลิจฉวีจากนครเวสาลีได้เข้าเฝ้าและการาบทูลความเป็นไปแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณาว่า
เมื่อตรัสรัตนสูตรในกรุงเวสาลี การอารักขาจักแผ่ไปแสนโกฏิจักรวาล จบสูตร สัตว์ 84,000 จักตรัสรู้ธรรม แล้วจึงทรงรับนิมนต์
นับเป็นประโยชน์ถึง 2 ทาง จึงทรงรับนิมนต์ไป ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสาร ผู้ทรงอุปฐากพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงทราบเช่นนั้น
ก็โปรดให้รีบแต่งทางเสด็จพระพุทธดำเนินระยะทางจากกรุงราชคฤห์ถึงแม่น้ำคงคา อันเป็นพรมแดนแห่งแคว้นทั้งสองนั้น 5 โยชน์
รับสั่งให้ปราบพื้นถมดิน ทำทางให้เรียบ ให้ปลูกที่ประทับแรมทุกโยชน์ เตรียมให้เสด็จวันละโยชน์
แล้วทูลเชิญเสด็จพระสังฆาสัมพุทธเจ้าเสด็จออกจากกรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุ 500 รูป มีการส่งเสด็จอย่างเอิกเกริกมโหฬาร
ครั้นเมื่อเสด็จถึงเขตแดนนครเวสลี ลำดับนั้น พอพระผู้มีพระภาคเจ้ายกพระบาทแรกวางลงริมฝั่งแม่น้ำคงคา
ฝนโบกขรพรรษก็โปรยเม็ดลงมา ซากศพทั้งปวงถูกน้ำพัดส่งลงสู่แม่น้ำคงคา พื้นดินก็สะอาดสะอ้าน
และเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จถึงกรุงเวสาลี ท้าวสักกะจอมทวยเทพ อันหมู่เทพห้อมล้อมก็เสด็จมาถึง
ยังผลให้อมุษย์ทั้งหลายต้องหลบลี้หนีไปจากเมืองเวสาลีเป็นอันมาก
ลำดับต่อมา พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนใกล้ประตูพระนครทรงเรียกท่านพระอานนท์มา สั่งว่า ดูก่อนอานนท์ เธอจงเรียนรัตนสูตรนี้
ถือเครื่องประกอบพลีกรรม เที่ยวเดินไประหว่างปราการ 3 ชั้นแห่งกรุงเวสาลีกับพวกเจ้าลิจฉวีราชกุมาร ทำพระปริตร
แล้วได้ตรัสรัตนสูตร พอพระเถระกล่าวว่า ยงฺกิ �ญฺจิ เท่านั้น พวกอมนุษย์ที่อาศัยกองขยะและที่ฝาเรือนเป็นต้น
ซึ่งยังไม่หนีไปในตอนแรก ก็พากันหนีไปทางประตูทั้ง 4 ประตูทั้งหลายก็ไม่มีที่ว่าง อมนุษย์บางพวก
เมื่อไม่ได้ที่ว่างที่ประตูทั้งหลาย ก็ทลายกำแพงเมืองหนีไป
พอพวกอมนุษย์พากันไปแล้ว ที่เนื้อตัวของพวกมนุษย์ทั้งหลาย โรคก็สงบไป
พวกมนุษย์ทั้งหลายก็พากันออกมาบูชาพระเถระด้วยดอกไม้ของหอมเป็นต้นทุกอย่าง มหาชนเอาของหอมทุกอย่างฉาบทาสัณฐาคารที่ประชุม
ท่ามกลางพระนคร ทำเพดานขจิตด้วยรัตนะ ประดับด้วยเครื่องประดับทั้งปวง ปูพุทธอาสน์ลง ณ
ที่นั้นแล้วนำเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
รัตนปริตร
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถปิ สักกัจะ สุณันตุ ภาสิตัง
ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย
ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ
คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ
ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ
สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ
จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต
ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะตัง
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ
อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค
คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
บทแปล
รัตนสูตร ในขุททกปาฐะ
[ ๗] ภูตเหล่าใด ประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดา เหล่าใดประชุม
กันแล้วในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้มีใจดีและจงฟังภาษิตโดย
เคารพ ดูกรภูตทั้งปวง เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ขอจง
แผ่เมตตาจิตในหมู่มนุษย์ มนุษย์เหล่าใด นำพลีกรรมไปทั้งกลางวันทั้งกลางคืน เพราะเหตุนั้นแล
ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาทรักษามนุษย์เหล่านั้น ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้
หรือในโลกอื่นหรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย
พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระศากยมุนีมีพระหฤทัยดำรงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส
เป็นที่สำรอกกิเลส เป็นอมฤตธรรม อันประณีต ธรรมชาติอะไรๆเสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี
ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิใด ว่าเป็น
ธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิใด ว่าให้ผลในลำดับ
สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
บุคคล ๘จำพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่านั้น
ควรแก่ทักษิณาทาน เป็นสาวกของพระตถาคต ทานที่บุคคลถวายแล้วในท่านเหล่านั้น
ย่อมมีผลมาก สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใด ในศาสนาของพระโคดม ประกอบดีแล้ว
[ ด้วยกายประโยคและวจีประโยคอันบริสุทธิ์] มีใจมั่นคงเป็นผู้ไม่มีความห่วงใย [ ในกายและชีวิต]
พระอริยบุคคลเหล่านั้นบรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุหยั่งลงสู่อมตนิพพาน ได้ซึ่งความดับกิเลสโดย
เปล่า เสวยผลอยู่ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
เสาเขื่อนที่ฝังลงดินไม่หวั่นไหวเพราะ ลมทั้งสี่ทิศ ฉันใด ผู้ใดพิจารณาเห็นอริยสัจทั้งหลาย
เราเรียกผู้นั้นว่า เป็นสัตบุรุษ ผู้ไม่หวั่นไหวเพราะโลกธรรมมีอุปมาฉันนั้น สังฆรัตนะนี้
เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใด ทำให้แจ้งซึ่งอริยสัจทั้งหลาย อันพระศาสดาทรงแสดงดีแล้ว
ด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง พระอริยบุคคลเหล่านั้น ยังเป็นผู้ ประมาทอย่างแรงกล้าอยู่ก็จริง
ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ยึดถือเอาภพที่ ๘ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดี จงมีแก่สัตว์เหล่านี้
สักกายทิฏฐิและวิจิกิจฉา หรือแม้สีลัพพตปรามาส อันใดอันหนึ่งยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น
อันพระอริยบุคคลนั้นละได้แล้วพร้อมด้วยความถึงพร้อมแห่งการเห็น[ นิพพาน] ทีเดียว
อนึ่ง พระอริยบุคคลเป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔ ทั้งไม่ควรเพื่อจะทำอภิฐานทั้ง ๖ [ คือ อนันตริยกรรม ๕
และการเข้ารีด] สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลนั้นยัง ทำบาปกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา หรือด้วยใจ ก็จริง ถึงกระนั้น
ท่านไม่ควร เพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความที่บุคคลผู้มีธรรมเครื่องถึงนิพพาน
อันตนเห็นแล้ว เป็นผู้ไม่ควรเพื่อปกปิดบาปกรรมนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว สังฆรัตนะแม้นี้
เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พุ่มไม้ในป่ามียอดอันบานแล้วในเดือนต้นในคิมหันตฤดู ฉันใดพระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรม
อันประเสริฐยิ่ง เป็นเครื่องให้ถึงนิพพาน เพื่อประโยชน์เกื้อกูลมีอุปมา ฉันนั้นพุทธรัตนะ
แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ
ทรงนำมาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ
พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใดผู้มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป มีกรรมเก่าสิ้นแล้ว
ไม่มีกรรมใหม่เครื่องสมภพพระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชอันสิ้นแล้ว มีความพอใจไม่งอกงามแล้ว
เป็นนักปราชญ์ ย่อมนิพพาน เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น สังฆรัตนะ
แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดา
และมนุษย์ทั้งหลายบูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศก็ดี หรือ ภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลายจงนมัสการพระธรรม อันไปแล้วอย่างนั้น อันเทวดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือ ภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการ พระสงฆ์ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้ ฯ
จบรัตนสูตร ฯ
อ้างอิง
พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ ( ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ- ธรรมบท- อุทาน- อิติวุตตกะ- สุตตนิบาต
หน้าที่ ๓ - ๖ หัวข้อที่ ๗
同時也有2部Youtube影片,追蹤數超過0的網紅CarDebuts,也在其Youtube影片中提到,? คลิปรถใหม่ 2019-2020 มาแล้วครับ คลิกที่นี่ https://www.youtube.com/channel/UCSebcviE-UeYMxVRNozwqtw/videos รีวิว Ford Ranger 2018 (ฟอร์ด เรนเจอร์) ...
「นอกจากนี้ ภาษาไทย」的推薦目錄:
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最讚貼文
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最佳貼文
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最讚貼文
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 CarDebuts Youtube 的精選貼文
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 CarDebuts Youtube 的精選貼文
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 คำเชื่อม - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5 - YouTube 的評價
- 關於นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 BeamSensei - ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวัน (มีคลิปเสียง) 日常タイ語 ... 的評價
นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最佳貼文
วันนี้ดาวเสาร์โคจรย้ายราศี สถานการณ์บ้านเมือง โลก แบบนี้ ต้องสวดพระคาถาพุทธมนต์ บทนี้ครับและคำ่นี้ ติดตามชมไลฟ์สด พิธีเจริญพระพุทธมนต์ จากวัดไตรมิตรฯครับ
(พระที่ควรบูชาติดตัวช่วงนี้ ควรเป็นพระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ที่คุณมีอยู่แล้ว หรือที่ เคารพศรัทธาในสายวัด ครูบาอาจารย์ของทุกๆคน)
รัตนสูตร เป็น พระสูตร ใน พระสุตตันตปิฎก หมวด ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และยังปรากฏในหมวดสุตตนิบาต เป็นพระคาถาจำนวน 17 บท
แต่ปรากฏในพากย์ภาษาสันสกฤตจำนวน 19 บท ดังที่มีอยู่ในคัมภีร์ มหาวัสตุอวทาน ของนิกาย โลโกตตรวาท และนิกาย มหาสังฆิกะ
พระสูตรนี้พรรณนาคุณของ พระรัตนตรัย และป่าวประกาศความยิ่งใหญ่ และคุณลักษณะของพระอริยะเจ้า มีพระโสดาบัน เป็นอาทิ
จุดประสงค์ของการประกาศพระสูตรนี้ก็เพื่อโปรดชาวเมืองเวสาลีให้รอดพ้นจากภยันตรายทั้งหลวงทั้งปวงที่กำลังรุมเร้าเมืองแห่งนี้
และเพื่อยังให้ชาวเมืองทั้งหลายได้มีดวงตาเห็นธรรม
รัตนสูตร หรือรัตนปริตร จัดเป็นหนึ่งในพระ ปริตร หรือพระคาถาพรรณนาอานุภาพของพระ รัตนตรัย
โดยได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในพระคาถาหลักของคัมภีร์จตุภาณะวารปาลี
หรือตำรารวบรวมพระปริตรที่เป็นที่นิยมสวดสาธยายกันในศรีลังกา รวบรวมขึ้นในช่วงยุคกลางของประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
หรือในยุคที่พระพุทธศาสนากำลังรุ่งเรืองในลังกา นอกจากนี้ ยังมี อรรถกถา อธิบายพระปริตรนี้ในคัมภีร์ ปรมัตถโชติกา
อรรกถาขุททกนิกาย
ครั้งหนึ่งกรุง เวสาลี นั้นเกิด ทุพภิกขภัย ฝนแล้งข้าวกล้าตายเกลื่อนกลาด จนชาวเมืองมากมายต้องล้มตาย
ต้องนำศพไปทิ้งนอกเมือง ครั้นพวกอมนุษย์ได้กลิ่นคนตายก็พากันเข้าพระนคร รบกวนมนุษย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ต่าง ๆ นา ๆ
แต่นั้นผู้คนก็ล้มตายเพิ่มมากขึ้น ทั้งเพราะความอดอยาก ทั้งเพราะความปฏิกูลจนเกิด อหิวาตกโรค และทั้งจากอมนุษย์เบียดเบียน
ชาวเมืองจึงพากันไปกราบทูลพระราชาว่า แต่ก่อนนี้ นับได้ 7 ชั่วราชสกุล ไม่เคยเกิดภัยเช่นนี้เลย
ชะรอยพระองค์ไม่ทรงตั้งอยู่ในธรรม ครั้นพระราชาทรงเรียกพระประยุรญาติเจ้าเจ้าลิจฉวีมาประชุมโดยพร้อมกัน เพื่อพิจารณาว่า
พระองค์ได้ตั้งอยู่ในความบกพร่องหรือไม่ แต่ไม่ปรากฏว่าพระราชาทรงมิได้กระทบกพร่องแต่อย่างใด
จึงมีการถกเถียงกันถึงหนทางที่จะปัดเป่าภยันตรายที่เกิดขึ้น สุดท้าย
บรรดาเจ้าลิจฉวีจึงตกลงให้เชิญเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาโปรด
เมื่อเจ้าลิจฉวีจากนครเวสาลีได้เข้าเฝ้าและการาบทูลความเป็นไปแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณาว่า
เมื่อตรัสรัตนสูตรในกรุงเวสาลี การอารักขาจักแผ่ไปแสนโกฏิจักรวาล จบสูตร สัตว์ 84,000 จักตรัสรู้ธรรม แล้วจึงทรงรับนิมนต์
นับเป็นประโยชน์ถึง 2 ทาง จึงทรงรับนิมนต์ไป ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสาร ผู้ทรงอุปฐากพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงทราบเช่นนั้น
ก็โปรดให้รีบแต่งทางเสด็จพระพุทธดำเนินระยะทางจากกรุงราชคฤห์ถึงแม่น้ำคงคา อันเป็นพรมแดนแห่งแคว้นทั้งสองนั้น 5 โยชน์
รับสั่งให้ปราบพื้นถมดิน ทำทางให้เรียบ ให้ปลูกที่ประทับแรมทุกโยชน์ เตรียมให้เสด็จวันละโยชน์
แล้วทูลเชิญเสด็จพระสังฆาสัมพุทธเจ้าเสด็จออกจากกรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุ 500 รูป มีการส่งเสด็จอย่างเอิกเกริกมโหฬาร
ครั้นเมื่อเสด็จถึงเขตแดนนครเวสลี ลำดับนั้น พอพระผู้มีพระภาคเจ้ายกพระบาทแรกวางลงริมฝั่งแม่น้ำคงคา
ฝนโบกขรพรรษก็โปรยเม็ดลงมา ซากศพทั้งปวงถูกน้ำพัดส่งลงสู่แม่น้ำคงคา พื้นดินก็สะอาดสะอ้าน
และเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จถึงกรุงเวสาลี ท้าวสักกะจอมทวยเทพ อันหมู่เทพห้อมล้อมก็เสด็จมาถึง
ยังผลให้อมุษย์ทั้งหลายต้องหลบลี้หนีไปจากเมืองเวสาลีเป็นอันมาก
ลำดับต่อมา พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนใกล้ประตูพระนครทรงเรียกท่านพระอานนท์มา สั่งว่า ดูก่อนอานนท์ เธอจงเรียนรัตนสูตรนี้
ถือเครื่องประกอบพลีกรรม เที่ยวเดินไประหว่างปราการ 3 ชั้นแห่งกรุงเวสาลีกับพวกเจ้าลิจฉวีราชกุมาร ทำพระปริตร
แล้วได้ตรัสรัตนสูตร พอพระเถระกล่าวว่า ยงฺกิ �ญฺจิ เท่านั้น พวกอมนุษย์ที่อาศัยกองขยะและที่ฝาเรือนเป็นต้น
ซึ่งยังไม่หนีไปในตอนแรก ก็พากันหนีไปทางประตูทั้ง 4 ประตูทั้งหลายก็ไม่มีที่ว่าง อมนุษย์บางพวก
เมื่อไม่ได้ที่ว่างที่ประตูทั้งหลาย ก็ทลายกำแพงเมืองหนีไป
พอพวกอมนุษย์พากันไปแล้ว ที่เนื้อตัวของพวกมนุษย์ทั้งหลาย โรคก็สงบไป
พวกมนุษย์ทั้งหลายก็พากันออกมาบูชาพระเถระด้วยดอกไม้ของหอมเป็นต้นทุกอย่าง มหาชนเอาของหอมทุกอย่างฉาบทาสัณฐาคารที่ประชุม
ท่ามกลางพระนคร ทำเพดานขจิตด้วยรัตนะ ประดับด้วยเครื่องประดับทั้งปวง ปูพุทธอาสน์ลง ณ
ที่นั้นแล้วนำเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
รัตนปริตร
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถปิ สักกัจะ สุณันตุ ภาสิตัง
ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย
ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ
คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ
ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ
สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ
จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต
ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะตัง
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ
อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค
คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
บทแปล
รัตนสูตร ในขุททกปาฐะ
[ ๗] ภูตเหล่าใด ประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดา เหล่าใดประชุม
กันแล้วในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้มีใจดีและจงฟังภาษิตโดย
เคารพ ดูกรภูตทั้งปวง เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ขอจง
แผ่เมตตาจิตในหมู่มนุษย์ มนุษย์เหล่าใด นำพลีกรรมไปทั้งกลางวันทั้งกลางคืน เพราะเหตุนั้นแล
ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาทรักษามนุษย์เหล่านั้น ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้
หรือในโลกอื่นหรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย
พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระศากยมุนีมีพระหฤทัยดำรงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส
เป็นที่สำรอกกิเลส เป็นอมฤตธรรม อันประณีต ธรรมชาติอะไรๆเสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี
ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิใด ว่าเป็น
ธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิใด ว่าให้ผลในลำดับ
สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
บุคคล ๘จำพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่านั้น
ควรแก่ทักษิณาทาน เป็นสาวกของพระตถาคต ทานที่บุคคลถวายแล้วในท่านเหล่านั้น
ย่อมมีผลมาก สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใด ในศาสนาของพระโคดม ประกอบดีแล้ว
[ ด้วยกายประโยคและวจีประโยคอันบริสุทธิ์] มีใจมั่นคงเป็นผู้ไม่มีความห่วงใย [ ในกายและชีวิต]
พระอริยบุคคลเหล่านั้นบรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุหยั่งลงสู่อมตนิพพาน ได้ซึ่งความดับกิเลสโดย
เปล่า เสวยผลอยู่ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
เสาเขื่อนที่ฝังลงดินไม่หวั่นไหวเพราะ ลมทั้งสี่ทิศ ฉันใด ผู้ใดพิจารณาเห็นอริยสัจทั้งหลาย
เราเรียกผู้นั้นว่า เป็นสัตบุรุษ ผู้ไม่หวั่นไหวเพราะโลกธรรมมีอุปมาฉันนั้น สังฆรัตนะนี้
เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใด ทำให้แจ้งซึ่งอริยสัจทั้งหลาย อันพระศาสดาทรงแสดงดีแล้ว
ด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง พระอริยบุคคลเหล่านั้น ยังเป็นผู้ ประมาทอย่างแรงกล้าอยู่ก็จริง
ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ยึดถือเอาภพที่ ๘ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดี จงมีแก่สัตว์เหล่านี้
สักกายทิฏฐิและวิจิกิจฉา หรือแม้สีลัพพตปรามาส อันใดอันหนึ่งยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น
อันพระอริยบุคคลนั้นละได้แล้วพร้อมด้วยความถึงพร้อมแห่งการเห็น[ นิพพาน] ทีเดียว
อนึ่ง พระอริยบุคคลเป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔ ทั้งไม่ควรเพื่อจะทำอภิฐานทั้ง ๖ [ คือ อนันตริยกรรม ๕
และการเข้ารีด] สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลนั้นยัง ทำบาปกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา หรือด้วยใจ ก็จริง ถึงกระนั้น
ท่านไม่ควร เพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความที่บุคคลผู้มีธรรมเครื่องถึงนิพพาน
อันตนเห็นแล้ว เป็นผู้ไม่ควรเพื่อปกปิดบาปกรรมนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว สังฆรัตนะแม้นี้
เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พุ่มไม้ในป่ามียอดอันบานแล้วในเดือนต้นในคิมหันตฤดู ฉันใดพระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรม
อันประเสริฐยิ่ง เป็นเครื่องให้ถึงนิพพาน เพื่อประโยชน์เกื้อกูลมีอุปมา ฉันนั้นพุทธรัตนะ
แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ
ทรงนำมาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ
พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใดผู้มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป มีกรรมเก่าสิ้นแล้ว
ไม่มีกรรมใหม่เครื่องสมภพพระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชอันสิ้นแล้ว มีความพอใจไม่งอกงามแล้ว
เป็นนักปราชญ์ ย่อมนิพพาน เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น สังฆรัตนะ
แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดา
และมนุษย์ทั้งหลายบูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศก็ดี หรือ ภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลายจงนมัสการพระธรรม อันไปแล้วอย่างนั้น อันเทวดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือ ภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการ พระสงฆ์ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้ ฯ
จบรัตนสูตร ฯ
อ้างอิง
พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ ( ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ- ธรรมบท- อุทาน- อิติวุตตกะ- สุตตนิบาต
หน้าที่ ๓ - ๖ หัวข้อที่ ๗
นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 โหรฟันธง ลักษณ์ เรขานิเทศ Facebook 的最讚貼文
วันนี้ดาวเสาร์โคจรย้ายราศี สถานการณ์บ้านเมือง โลก แบบนี้ ต้องสวดพระคาถาพุทธมนต์ บทนี้ครับและคำ่นี้ ติดตามชมไลฟ์สด พิธีเจริญพระพุทธมนต์ จากวัดไตรมิตรฯครับ
(พระที่ควรบูชาติดตัวช่วงนี้ ควรเป็นพระกริ่ง พระชัยวัฒน์ ที่คุณมีอยู่แล้ว หรือที่ เคารพศรัทธาในสายวัด ครูบาอาจารย์ของทุกๆคน)
รัตนสูตร เป็น พระสูตร ใน พระสุตตันตปิฎก หมวด ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ และยังปรากฏในหมวดสุตตนิบาต เป็นพระคาถาจำนวน 17 บท
แต่ปรากฏในพากย์ภาษาสันสกฤตจำนวน 19 บท ดังที่มีอยู่ในคัมภีร์ มหาวัสตุอวทาน ของนิกาย โลโกตตรวาท และนิกาย มหาสังฆิกะ
พระสูตรนี้พรรณนาคุณของ พระรัตนตรัย และป่าวประกาศความยิ่งใหญ่ และคุณลักษณะของพระอริยะเจ้า มีพระโสดาบัน เป็นอาทิ
จุดประสงค์ของการประกาศพระสูตรนี้ก็เพื่อโปรดชาวเมืองเวสาลีให้รอดพ้นจากภยันตรายทั้งหลวงทั้งปวงที่กำลังรุมเร้าเมืองแห่งนี้
และเพื่อยังให้ชาวเมืองทั้งหลายได้มีดวงตาเห็นธรรม
รัตนสูตร หรือรัตนปริตร จัดเป็นหนึ่งในพระ ปริตร หรือพระคาถาพรรณนาอานุภาพของพระ รัตนตรัย
โดยได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในพระคาถาหลักของคัมภีร์จตุภาณะวารปาลี
หรือตำรารวบรวมพระปริตรที่เป็นที่นิยมสวดสาธยายกันในศรีลังกา รวบรวมขึ้นในช่วงยุคกลางของประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
หรือในยุคที่พระพุทธศาสนากำลังรุ่งเรืองในลังกา นอกจากนี้ ยังมี อรรถกถา อธิบายพระปริตรนี้ในคัมภีร์ ปรมัตถโชติกา
อรรกถาขุททกนิกาย
ครั้งหนึ่งกรุง เวสาลี นั้นเกิด ทุพภิกขภัย ฝนแล้งข้าวกล้าตายเกลื่อนกลาด จนชาวเมืองมากมายต้องล้มตาย
ต้องนำศพไปทิ้งนอกเมือง ครั้นพวกอมนุษย์ได้กลิ่นคนตายก็พากันเข้าพระนคร รบกวนมนุษย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ต่าง ๆ นา ๆ
แต่นั้นผู้คนก็ล้มตายเพิ่มมากขึ้น ทั้งเพราะความอดอยาก ทั้งเพราะความปฏิกูลจนเกิด อหิวาตกโรค และทั้งจากอมนุษย์เบียดเบียน
ชาวเมืองจึงพากันไปกราบทูลพระราชาว่า แต่ก่อนนี้ นับได้ 7 ชั่วราชสกุล ไม่เคยเกิดภัยเช่นนี้เลย
ชะรอยพระองค์ไม่ทรงตั้งอยู่ในธรรม ครั้นพระราชาทรงเรียกพระประยุรญาติเจ้าเจ้าลิจฉวีมาประชุมโดยพร้อมกัน เพื่อพิจารณาว่า
พระองค์ได้ตั้งอยู่ในความบกพร่องหรือไม่ แต่ไม่ปรากฏว่าพระราชาทรงมิได้กระทบกพร่องแต่อย่างใด
จึงมีการถกเถียงกันถึงหนทางที่จะปัดเป่าภยันตรายที่เกิดขึ้น สุดท้าย
บรรดาเจ้าลิจฉวีจึงตกลงให้เชิญเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาโปรด
เมื่อเจ้าลิจฉวีจากนครเวสาลีได้เข้าเฝ้าและการาบทูลความเป็นไปแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณาว่า
เมื่อตรัสรัตนสูตรในกรุงเวสาลี การอารักขาจักแผ่ไปแสนโกฏิจักรวาล จบสูตร สัตว์ 84,000 จักตรัสรู้ธรรม แล้วจึงทรงรับนิมนต์
นับเป็นประโยชน์ถึง 2 ทาง จึงทรงรับนิมนต์ไป ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสาร ผู้ทรงอุปฐากพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงทราบเช่นนั้น
ก็โปรดให้รีบแต่งทางเสด็จพระพุทธดำเนินระยะทางจากกรุงราชคฤห์ถึงแม่น้ำคงคา อันเป็นพรมแดนแห่งแคว้นทั้งสองนั้น 5 โยชน์
รับสั่งให้ปราบพื้นถมดิน ทำทางให้เรียบ ให้ปลูกที่ประทับแรมทุกโยชน์ เตรียมให้เสด็จวันละโยชน์
แล้วทูลเชิญเสด็จพระสังฆาสัมพุทธเจ้าเสด็จออกจากกรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุ 500 รูป มีการส่งเสด็จอย่างเอิกเกริกมโหฬาร
ครั้นเมื่อเสด็จถึงเขตแดนนครเวสลี ลำดับนั้น พอพระผู้มีพระภาคเจ้ายกพระบาทแรกวางลงริมฝั่งแม่น้ำคงคา
ฝนโบกขรพรรษก็โปรยเม็ดลงมา ซากศพทั้งปวงถูกน้ำพัดส่งลงสู่แม่น้ำคงคา พื้นดินก็สะอาดสะอ้าน
และเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จถึงกรุงเวสาลี ท้าวสักกะจอมทวยเทพ อันหมู่เทพห้อมล้อมก็เสด็จมาถึง
ยังผลให้อมุษย์ทั้งหลายต้องหลบลี้หนีไปจากเมืองเวสาลีเป็นอันมาก
ลำดับต่อมา พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนใกล้ประตูพระนครทรงเรียกท่านพระอานนท์มา สั่งว่า ดูก่อนอานนท์ เธอจงเรียนรัตนสูตรนี้
ถือเครื่องประกอบพลีกรรม เที่ยวเดินไประหว่างปราการ 3 ชั้นแห่งกรุงเวสาลีกับพวกเจ้าลิจฉวีราชกุมาร ทำพระปริตร
แล้วได้ตรัสรัตนสูตร พอพระเถระกล่าวว่า ยงฺกิ �ญฺจิ เท่านั้น พวกอมนุษย์ที่อาศัยกองขยะและที่ฝาเรือนเป็นต้น
ซึ่งยังไม่หนีไปในตอนแรก ก็พากันหนีไปทางประตูทั้ง 4 ประตูทั้งหลายก็ไม่มีที่ว่าง อมนุษย์บางพวก
เมื่อไม่ได้ที่ว่างที่ประตูทั้งหลาย ก็ทลายกำแพงเมืองหนีไป
พอพวกอมนุษย์พากันไปแล้ว ที่เนื้อตัวของพวกมนุษย์ทั้งหลาย โรคก็สงบไป
พวกมนุษย์ทั้งหลายก็พากันออกมาบูชาพระเถระด้วยดอกไม้ของหอมเป็นต้นทุกอย่าง มหาชนเอาของหอมทุกอย่างฉาบทาสัณฐาคารที่ประชุม
ท่ามกลางพระนคร ทำเพดานขจิตด้วยรัตนะ ประดับด้วยเครื่องประดับทั้งปวง ปูพุทธอาสน์ลง ณ
ที่นั้นแล้วนำเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
รัตนปริตร
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถปิ สักกัจะ สุณันตุ ภาสิตัง
ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย
ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ
คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ
ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ
สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ
จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต
ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะตัง
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ
อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค
คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
บทแปล
รัตนสูตร ในขุททกปาฐะ
[ ๗] ภูตเหล่าใด ประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดา เหล่าใดประชุม
กันแล้วในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้มีใจดีและจงฟังภาษิตโดย
เคารพ ดูกรภูตทั้งปวง เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ขอจง
แผ่เมตตาจิตในหมู่มนุษย์ มนุษย์เหล่าใด นำพลีกรรมไปทั้งกลางวันทั้งกลางคืน เพราะเหตุนั้นแล
ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาทรักษามนุษย์เหล่านั้น ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้
หรือในโลกอื่นหรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย
พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระศากยมุนีมีพระหฤทัยดำรงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส
เป็นที่สำรอกกิเลส เป็นอมฤตธรรม อันประณีต ธรรมชาติอะไรๆเสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี
ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิใด ว่าเป็น
ธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิใด ว่าให้ผลในลำดับ
สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี ธรรมรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
บุคคล ๘จำพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่านั้น
ควรแก่ทักษิณาทาน เป็นสาวกของพระตถาคต ทานที่บุคคลถวายแล้วในท่านเหล่านั้น
ย่อมมีผลมาก สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใด ในศาสนาของพระโคดม ประกอบดีแล้ว
[ ด้วยกายประโยคและวจีประโยคอันบริสุทธิ์] มีใจมั่นคงเป็นผู้ไม่มีความห่วงใย [ ในกายและชีวิต]
พระอริยบุคคลเหล่านั้นบรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุหยั่งลงสู่อมตนิพพาน ได้ซึ่งความดับกิเลสโดย
เปล่า เสวยผลอยู่ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
เสาเขื่อนที่ฝังลงดินไม่หวั่นไหวเพราะ ลมทั้งสี่ทิศ ฉันใด ผู้ใดพิจารณาเห็นอริยสัจทั้งหลาย
เราเรียกผู้นั้นว่า เป็นสัตบุรุษ ผู้ไม่หวั่นไหวเพราะโลกธรรมมีอุปมาฉันนั้น สังฆรัตนะนี้
เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใด ทำให้แจ้งซึ่งอริยสัจทั้งหลาย อันพระศาสดาทรงแสดงดีแล้ว
ด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง พระอริยบุคคลเหล่านั้น ยังเป็นผู้ ประมาทอย่างแรงกล้าอยู่ก็จริง
ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ยึดถือเอาภพที่ ๘ สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต
ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดี จงมีแก่สัตว์เหล่านี้
สักกายทิฏฐิและวิจิกิจฉา หรือแม้สีลัพพตปรามาส อันใดอันหนึ่งยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น
อันพระอริยบุคคลนั้นละได้แล้วพร้อมด้วยความถึงพร้อมแห่งการเห็น[ นิพพาน] ทีเดียว
อนึ่ง พระอริยบุคคลเป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔ ทั้งไม่ควรเพื่อจะทำอภิฐานทั้ง ๖ [ คือ อนันตริยกรรม ๕
และการเข้ารีด] สังฆรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลนั้นยัง ทำบาปกรรมด้วยกาย ด้วยวาจา หรือด้วยใจ ก็จริง ถึงกระนั้น
ท่านไม่ควร เพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความที่บุคคลผู้มีธรรมเครื่องถึงนิพพาน
อันตนเห็นแล้ว เป็นผู้ไม่ควรเพื่อปกปิดบาปกรรมนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว สังฆรัตนะแม้นี้
เป็นรัตนะอันประณีตด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พุ่มไม้ในป่ามียอดอันบานแล้วในเดือนต้นในคิมหันตฤดู ฉันใดพระผู้มีพระภาคได้ทรงแสดงธรรม
อันประเสริฐยิ่ง เป็นเครื่องให้ถึงนิพพาน เพื่อประโยชน์เกื้อกูลมีอุปมา ฉันนั้นพุทธรัตนะ
แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ
ทรงนำมาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ
พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
พระอริยบุคคลเหล่าใดผู้มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป มีกรรมเก่าสิ้นแล้ว
ไม่มีกรรมใหม่เครื่องสมภพพระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชอันสิ้นแล้ว มีความพอใจไม่งอกงามแล้ว
เป็นนักปราชญ์ ย่อมนิพพาน เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น สังฆรัตนะ
แม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้า ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดา
และมนุษย์ทั้งหลายบูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศก็ดี หรือ ภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลายจงนมัสการพระธรรม อันไปแล้วอย่างนั้น อันเทวดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้
ภูตเหล่าใดประชุมกันแล้วในประเทศนี้ก็ดี หรือ ภุมมเทวดาเหล่าใดประชุมกันแล้ว
ในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการ พระสงฆ์ผู้ไปแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทวดา
และมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้ ฯ
จบรัตนสูตร ฯ
อ้างอิง
พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ ( ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ- ธรรมบท- อุทาน- อิติวุตตกะ- สุตตนิบาต
หน้าที่ ๓ - ๖ หัวข้อที่ ๗
นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 CarDebuts Youtube 的精選貼文
? คลิปรถใหม่ 2019-2020 มาแล้วครับ คลิกที่นี่ https://www.youtube.com/channel/UCSebcviE-UeYMxVRNozwqtw/videos
รีวิว Ford Ranger 2018 (ฟอร์ด เรนเจอร์) รุ่นไมเนอร์เชนจ์ ใหม่ล่าสุด ทั้งรุ่น Wildtrak Limited XLT XLS และ XL หลังเปิดตัวในไทย พร้อมช่วงราคาทั้ง 20 รุ่น
ฟอร์ด เปิดตัว เรนเจอร์ รุ่นไมเนอร์เขนจ์ใหม่ ปี 2018 ที่โดดเด่นด้วยขุมพลังเครื่องยนต์ดีเซลใหม่ขนาด 2.0 ลิตร ไบเทอร์โบ ผสานเกียร์อัตโนมัติ 10 สปีด พร้อมเทคโนโลยีที่เหนือชั้น เพื่อสมรรถนะที่เหนือกว่า อัดแน่นด้วยเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ได้แก่ ระบบช่วยเบรกฉุกเฉินอัตโนมัติ พร้อมระบบตรวจจับคนเดินถนน ระบบช่วยจอดอัจฉริยะ มอบความสะดวกสบายด้วยกุญแจอัจฉริยะ ปุ่มสตาร์ทรถอัตโนมัติ ระบบผ่อนแรงฝากระบะท้าย และระบบ SYNC 3 ภาษาไทย ที่รองรับ Apple Carplay และ Android Auto
Ford Ranger ใหม่ มีวางจำหน่ายในประเทศไทยทั้งหมด 20 รุ่น ซึ่งรวมถึงรุ่นไวล์ดแทรค XLT XLS XL กระบะฐานล้อสั้น (Short Wheel Base) และรุ่นใหม่ ‘ลิมิเต็ด’ (Limited) และยังรวมถึง ฟอร์ด เรนเจอร์ แร็พเตอร์ รถกระบะออฟโรดสมรรถนะสูงที่ผลิตจากโรงงาน รุ่นแรกและรุ่นเดียวของเอเชีย แปซิฟิก ซึ่งได้เปิดตัวไปในช่วงต้นปีที่ผ่านมา
ฟอร์ด เรนเจอร์ ใหม่ มีเครื่องยนต์ดีเซลให้เลือกถึง 3 แบบ เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งาน และความต้องการของผู้บริโภคที่หลากหลายยิ่งขึ้น ได้แก่ เครื่องยนต์ดีเซลใหม่ 2.0 ลิตร ไบเทอร์โบ เครื่องยนต์ดีเซลใหม่ 2.0 ลิตร เทอร์โบ และเครื่องยนต์ดูราทอร์ค ขนาด 2.2 ลิตร เทอร์โบ ที่ผ่านบทพิสูจน์ความแข็งแกร่งมาแล้ว
เครื่องยนต์ดีเซลรุ่นใหม่ของฟอร์ดผลิตจากวัสดุและการออกแบบทางวิศวกรรมที่ล้ำสมัย อีกทั้งยังมีขนาดกะทัดรัด น้ำหนักเบา ทรงพลังและเปี่ยมประสิทธิภาพ ด้วยระบบคอมมอนเรล หัวฉีดไดเร็คอินเจ็คชั่น ท่อร่วมไอดี และสายพานไทม์มิ่ง แบบจุ่มในน้ำมันเครื่อง
พิเศษสุดสำหรับรุ่นแร็พเตอร์ และรุ่นไวล์ดแทรค 4x4 มาพร้อมเครื่องยนต์ 2.0 ลิตร ไบเทอร์โบ ให้กำลังสูงสุด 213 แรงม้า ที่ 3,750 รอบต่อนาที จับคู่กับเกียร์อัตโนมัติ 10 สปีด พร้อมมอบแรงบิดที่สูงขึ้นถึง 500 นิวตันเมตร ที่ 1,750-2,000 รอบต่อนาที เพื่อรองรับการขับขี่ที่หลากหลาย ทำให้เสียงเครื่องยนต์เงียบลงกว่าเดิม ช่วยให้การเดินทางด้วยฟอร์ด เรนเจอร์ ใหม่ สะดวกสบายยิ่งขึ้น
เครื่องยนต์ไบเทอร์โบ ขนาด 2.0 ลิตร ใช้ระบบ Sequential Turbocharging ที่ผสานการทำงานของเทอร์โบชาร์จเจอร์ทั้ง 2 ตัว เพื่อให้เครื่องยนต์สามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว เต็มประสิทธิภาพ และมอบสมรรถนะสูงสุด โดยเทอร์โบชาร์จเจอร์ตัวแรก เป็นแบบเทอร์โบแปรผัน (Vartiable Turbocharger) จะช่วยเร่งการตอบสนองของคันเร่ง และลดช่วงการรอรอบ ช่วยให้เครื่องยนต์มีแรงบิด และแรงม้าสูง แม้ตอนใช้ความเร็วต่ำ ในขณะที่เทอร์โบชาร์จเจอร์ตัวที่สอง ซึ่งเป็นระบบเทอร์โบ Fixed-geometry จะรับหน้าที่ต่อ เพื่อเพิ่มกำลังและความเรียบลื่นให้กับเครื่องยนต์ ขณะใช้ความเร็วสูง
ด้วยแรงบิด 500 นิวตันเมตร เครื่องยนต์ไบเทอร์โบมอบแรงบิดที่เหนือกว่า และอัตราทดเกียร์ที่แคบลงของเกียร์อัตโนมัติ 10 สปีด จะช่วยเพิ่มพลังและแรงเร่ง ทำให้การไต่เขาที่ลื่นและสูงชัน ง่ายดายยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน ฟอร์ด เรนเจอร์ แร็พเตอร์และไวล์ดแทรค ที่มาพร้อมเครื่องยนต์ใหม่ ยังคงสมรรถนะที่เหนือชั้น ในการบรรทุกและลากจูงได้สูงสุดถึง 3,500 กิโลกรัม
เครื่องยนต์ 2.0 ลิตร เทอร์โบ ในรุ่น Wildtrak 4x2 และรุ่นใหม่ลิมิเต็ด (Limited) ให้กำลังสูงสุด 180 แรงม้า ที่ 3,500 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 420 นิวตันเมตร ที่ 1,750-2,500 รอบต่อนาที มาพร้อมระบบเกียร์อัตโนมัติ 10 สปีดที่ล้ำหน้าของฟอร์ด สำหรับรุ่น Limited ยังมีรุ่นเกียร์ธรรมดา 6 สปีดให้เลือกอีกด้วย
ส่วนรุ่น XLT XLS และ XL มาพร้อมเครื่องยนต์ดีเซล ดูราทอร์ค ขนาด 2.2 ลิตร เทอร์โบ มอบกำลัง 160 แรงม้า ที่ 3,200 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 385 นิวตันเมตร ที่ 1,600-2,500 รอบต่อนาที พร้อมระบบเกียร์อัตโนมัติและเกียร์ธรรมดา 6 สปีด
ฟอร์ด เรนเจอร์ ใหม่ มีให้เลือกทั้งหมด 20 รุ่น ตามราคาจำหน่ายดังต่อไปนี้:
Ford Ranger รุ่น Raptor ราคา 1,699,000 บาท
Ford Ranger รุ่น Wildtrak 2 รุ่น ราคา 1,029,000–1,265,000 บาท
Ford Ranger รุ่น Limited 4 รุ่น ราคา 889,000–1,029,000 บาท
Ford Ranger รุ่น XLT 4 รุ่น ราคา 749,000–869,000 บาท
Ford Ranger รุ่น XLS 4 รุ่น ราคา 659,000–789,000 บาท
Ford Ranger รุ่น XL 3 รุ่น ราคา 559,000–649,000 บาท
Ford Ranger รุ่น กระบะฐานล้อสั้น (Short Wheel Base) 2 รุ่น ราคา 589,000–799,000 บาท
ฟอร์ด เรนเจอร์ ใหม่ มีสีภายนอกให้เลือก 7 สี ได้แก่ สีใหม่ 2 สี นั่นคือ สีส้ม เซเบอร์ (เฉพาะรุ่นไวล์ดแทรค) และสีฟ้า ไลท์นิ่ง บลู (Lightning Blue) และสีมาตรฐาน ได้แก่ สีเงิน อะลูมิเนียม เมทัลลิค (Aluminuim Metallic) สีดำ แอพโซลูท แบล็ค เมทัลลิค (Absolute Black Metallic) สีเทา เมทีออร์ เกรย์ เมทัลลิค (Meteor Grey Metallic) สีขาว โฟรเซ่น ไวท์ (Frozen White) และสีแดง ทรู เร้ด (True Red)
เรนเจอร์ แร็พเตอร์ มีสีภายนอกให้เลือก 5 สี ได้แก่ สีเทา คองเคอร์ เกรย์ (Conquer Grey) ซึ่งเป็นสีใหม่เฉพาะแร็พเตอร์เท่านั้น และสีฟ้า ไลท์นิ่ง บลู (Lightning Blue) สีแดงเรซ เร้ด (Race Red) สีดำแชโดว์ แบล็ค (Shadow Black) และสีขาวโฟรเซ่น ไวท์ (Frozen White)
นอกจากนี้ ลูกค้าฟอร์ด เรนเจอร์ ใหม่ จะได้รับความคุ้มค่าและความสะดวกสบาย ด้วยบริการฟรีค่าแรง ในการตรวจเช็ครถตามระยะ สูงสุดถึง 5 ปี หรือภายในระยะ 75,000 กิโลเมตร เพียงเข้าตรวจเช็คระยะทุก 15,000 กิโลเมตร หรือทุก 1 ปี
ฟอร์ด เรนเจอร์ ใหม่ ผลิตที่โรงงานออโต้ อัลลายแอนซ์ ประเทศไทย (AAT) และโรงงานฟอร์ด ไทยแลนด์ แมนูแฟคเจอริ่ง (เอฟทีเอ็ม) ที่จังหวัดระยอง สำหรับการจำหน่ายในประเทศไทย และส่งออกไปยังทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
#2018FordRanger #FordRanger
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/6Eg3WgAJVwE/hqdefault.jpg)
นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 CarDebuts Youtube 的精選貼文
พบกับการเปิดตัว พร้อมราคา และรีวิวเบื้องต้น MG ZS รุ่นปี 2018 ที่ทาง SAIC Motor CP อ้างว่า เป็นสมาร์ทคาร์คันแรกของโลกกันครับ
บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จำกัด และบริษัท เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดตัว “NEW MG ZS” (เอ็มจี แซทเอส) รุ่นปี 2018 รถเอสยูวีเพื่อชีวิตที่ไร้ขีดจำกัด ตอกย้ำความเป็นผู้นำเทคโนโลยีสมาร์ทคาร์ ด้วยการติดตั้งระบบอัจฉริยะ i-SMART สามารถรองรับการสั่งการด้วยเสียงภาษาไทย ครั้งแรกในโลก
NEW MG ZS คือรถยนต์รุ่นแรกของเอ็มจี ที่มาพร้อมกับระบบอัจฉริยะ i-SMART ซึ่งเพิ่งเปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา ระบบสามารถควบคุมสั่งการได้ 3 วิธี คือ สั่งการผ่านระบบ Voice command ภาษาไทย สั่งการผ่านหน้าจอทัชสกรีนภายในรถ และการสั่งการผ่านไอสมาร์ทแอปพลิเคชั่น (i-SMART application) จากสมาร์ทโฟน นอกจากนี้ ระบบยังสามารถเรียนรู้พฤติกรรมของผู้ขับขี่ และพัฒนาความสามารถให้ดีขึ้น ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) สอดคล้องกับยุคอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่งหรือ IoT (Internet of Things)
ระบบ i-SMART ยังรวบรวมข้อมูลที่มีความสำคัญและแจ้งต่อผู้ขับได้ตลอดเวลา อาทิ ระดับน้ำมันเชื้อเพลิง สภาพการทำงานของแบตเตอรี่ เครื่องยนต์ และระบบเบรกผ่านสมาร์ทโฟน พร้อมกับช่วยแจ้งเตือนการเคลื่อนที่ของรถที่ผิดปกติ ที่อาจเกิดจากการโจรกรรม ซึ่งช่วยเพิ่มความปลอดภัยได้อีกระดับ
รูปลักษณ์ของ NEW MG ZS ได้รับการออกแบบภายใต้แนวคิด บริท ไดนามิค (Brit Dynamic)ที่มีความทันสมัยมากขึ้นและสปอร์ตยิ่งกว่าเดิม โดดเด่นด้วยกระจังหน้าดีไซน์ใหม่ขนาดใหญ่ ที่นำสายตาสู่เส้นสายบนฝากระโปรงด้านท้าย ไฟท้ายแบบแอลอีดีทิวบ์ (LED tube) เพิ่มสุนทรียภาพในทุกการขับขี่ด้วยพาโนรามิกซันรูฟที่มีขนาด 90 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่หลังคาทั้งหมด การออกแบบด้านข้างเน้นความปราดเปรียวที่มีเส้นสายชัดเจน พาดจากด้านหน้าไปจนถึงซุ้มล้อหลัง นอกจากนี้ ยังโดดเด่นด้วยล้ออัลลอยดีไซน์ใหม่แบบ Bi-Colour ขนาด 17 นิ้ว
ภายในห้องโดยสารได้รับการออกแบบโดยเน้นความหรูหราและความสปอร์ตสไตล์รถยุโรป ตกแต่งด้วยสีสันแบบทูโทนและวัสดุซอฟท์ทัช ที่บริเวณแผงประตูและแผงคอนโซล มาตรวัดเรืองแสง พร้อมหน้าจอแสดงผล มองเห็นชัดเจนในทุกสภาพแสง เบาะที่นั่งด้านหลัง พับแยกส่วน 60:40 พื้นที่เก็บสัมภาระส่วนท้าย ปรับได้สองระดับ โดยปรับระดับเพิ่มขึ้นได้อีก 10 ซม.
นอกเหนือจากระบบการเชื่อมต่ออัจฉริยะ i-SMART ที่แสดงผลผ่านหน้าจอสีระบบสัมผัสขนาด 8 นิ้ว NEW MG ZS ยังเพียบพร้อมด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบาย ที่ครบครันที่สุดรุ่นหนึ่งในรถระดับเดียวกัน ทั้งระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ พวงมาลัยมัลติฟังก์ชั่นแบบสปอร์ต ควบคุมเครื่องเสียง และปุ่มรับ-วางสายโทรศัพท์ด้วยปลายนิ้วสัมผัส ปุ่มสตาร์ท และยังสามารถรองรับการเชื่อมต่อไร้สายผ่านบลูทูธ พร้อมยูเอสบี (USB) ช่องจ่ายไฟ 12 โวลต์ นอกจากนี้ ยังมั่นใจยิ่งขึ้นด้วยกล้องมองหลังและเซ็นเซอร์ถอยหลัง
NEW MG ZS ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์เบนซินรุ่นใหม่ DOHC VTi-TECH 4 สูบ ความจุ 1.5 ลิตร ให้พละกำลัง 114 แรงม้าที่ 6,000 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 150 นิวตันเมตรที่ 4,500 รอบต่อนาที ผสานการทำงานด้วยระบบเกียร์อัตโนมัติ 4 สปีดพร้อม Manual Mode เพื่อตอบสนองทุกการขับขี่อย่างเต็มประสิทธิภาพ
เอ็มจี ให้ความสำคัญสูงสุดกับระบบความปลอดภัยเช่นเดียวกับรถยนต์รุ่นอื่นๆ ด้วยระบบโครงสร้างตัวถังนิรภัย FSF (Full Space Frame) เทคโนโลยีปกป้องทุกชีวิตในห้องโดยสาร และระบบ Synchronized Protection System 9 ระบบ ประกอบด้วย ระบบเบรกป้องกันล้อล็อก ABS พร้อมระบบกระจายแรงเบรก ระบบเสริมแรงเบรกด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมการทรงตัว ระบบควบคุมการเบรกในขณะเข้าโค้ง ระบบป้องกันล้อหมุนฟรีและควบคุมการลื่นไถล ระบบช่วยการออกตัวบนทางลาดชัน ระบบตรวจสอบความผิดปกติของลมยาง ระบบสัญญาณไฟแจ้งเตือนเมื่อมีการเบรกฉุกเฉิน ตลอดจนถุงลมนิรภัยคู่หน้า ถุงลมนิรภัยด้านข้าง และม่านถุงลมนิรภัย รวมทั้งหมด 6 จุด รวมถึงกล้องมองหลังและเซ็นเซอร์
NEW MG ZS มีสีให้เลือก ทั้งหมด 5 สี ได้แก่ สีแดงสกาเลตต์เรด (Scarlet Red) สีฟ้ามารีน่าบลู (Marina Blue) สีเงินซิลเวอร์เมทัลลิก (Silver Metallic) สีขาวอาร์คติคไวท์ (Arctic White) และสีดำแบล็คไนท์ (Black Knight) พร้อมกันนี้ ลูกค้าที่ซื้อรถยนต์ NEW MG ZS จะได้รับแพ็คเกจใช้งานระบบอัจฉริยะ i-SMART ฟรี เป็นระยะเวลา 5 ปี และได้รับความอุ่นใจกับการบริการแพสชั่น เซอร์วิส (Passion Service) ด้วยการรับประกันคุณภาพนาน 4 ปี หรือ 120,000 กิโลเมตร บริการช่วยเหลือฉุกเฉิน (Roadside Assistance) และศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (MG Call Centre) ตลอด 24 ชั่วโมง รวมไปถึงบริการเช็คระยะนอกสถานที่ (Mobile Services)
สำหรับราคาจำหน่าย The New MG ZS มีดังนี้
MG ZS รุ่น C ราคา 679,000 บาท
MG ZS รุ่น D ราคา 729,000 บาท
MG ZS รุ่น X ราคา 789,000 บาท
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/ME6l9EXW-ps/hqdefault.jpg)
นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 BeamSensei - ภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวัน (มีคลิปเสียง) 日常タイ語 ... 的推薦與評價
นอกจากนี้ の no ในวงเล็บก็สามารถพูดได้ค่ะ ยกเสียงสูงขึ้น ... ภาษาไทยเรียกอันนี้ว่าอะไรครับ phaa saa thai riak an nii waa arai kha/khrab ... <看更多>
นอกจากนี้ ภาษาไทย 在 คำเชื่อม - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.5 - YouTube 的推薦與評價
สื่อการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ... ตลอดฟรีๆ สื่อการสอน นี้ นำมาจาก โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย ... ... <看更多>