You know yourself the best
呢個世界總有好多人鍾意make comments
好多人鍾意比意見都唔夠 仲好想你採用佢既意見
相信好多懷孕中既姊妹們都好可以感受到
上至你要食咩維他命 用邊個陪月 邊個醫生 係邊到生
下至你點生 放幾耐假 食咩奶粉 請唔請姐姐等
身邊總有人比唔同既意見比你
當然大部分都為你好 而且佢地親身經驗過
所以好想share比你 等你可以撞少啲板
但呢啲唔等於你認同 而你想採同既方法
當然權衡兩者間 唔想得失比意見既人
但又可以堅持自己既意向 的確係一門藝術
用自己做運動黎做例子
運動左10年 由打拳 瑜伽到CrossFit
除左handstand外 所有既inversion都唔駛warm up
headstand hold 20分鐘 係輕鬆
Deadlift 1RM 200lbs (依家我最多比自己去到135lbs)
back squat 1RM 145lbs (依家最多比自己110lbs)
bench press 1RM 85lbs (依家最多比自己65lbs)
然後有好多人就會😱😱😱😱😱 你唔可以甘嫁。。你要點點點呀甘。。
。。其實你做唔到姐。。唔係我問題woo。。。🤷🏻♀️🤷🏻♀️🤷🏻♀️
就算我deload極 hold短啲極 個肚大極
可能都舉得重過你 耐過你 快過你
⚡️NO OFFENCE ⚡️但我既training係甘
而我既身體get used to
留意返 我已經將所有野減至6至7成
(我係無可能成為你眼中既大肚婆得閒只係拉下筋😅)
I know what im doing and I know my body
而我一直都強調⭐️you are pregnant but you are not handicapped⭐️
你仲好有能力維持正常生活既routine
最緊要既一樣
‼️懷孕期間 做能力範圍既野 唔係走去學新野 ‼️
例如你未懷孕前未做到free handstand
有左你唔會走去繼續學
相信有大部分既媽媽 係懷孕後既防禦意識入面都好明白咩係有危險
有咩係要取捨
媽媽既 危機意識其實好強 只係其他人明白唔到
係世俗既眼光下 勇敢行自己條路的確唔容易
每個人都有唔同既框框 好想身邊既人去接受
但條路最後都係你自己行返既
到最後點揀 係你既選擇
you know yourself the best
📸️ @keithl.fitnessphoto
Photo taken at week 32
同時也有11部Youtube影片,追蹤數超過94萬的網紅Fitjunctions,也在其Youtube影片中提到,คำเตือน: การออกกำลังกายมีความเสี่ยง หากบาดเจ็บควรพบแพทย์โดยด่วน! พี่ฟ้าใสเป็น CPT / CES / Sports nutrition coach ไม่ใช่นักกายภาพบำบัดนะ คลิปนี้อาจมีภ...
「bench press warm up」的推薦目錄:
- 關於bench press warm up 在 Carol Yeung Yoga Facebook 的精選貼文
- 關於bench press warm up 在 Fit Junctions Facebook 的最佳貼文
- 關於bench press warm up 在 ชุมชนคนสร้างซิกแพ็ค sixpackclub.net Facebook 的最佳解答
- 關於bench press warm up 在 Fitjunctions Youtube 的最佳解答
- 關於bench press warm up 在 cook kafemaru Youtube 的最佳解答
- 關於bench press warm up 在 cook kafemaru Youtube 的最佳貼文
bench press warm up 在 Fit Junctions Facebook 的最佳貼文
ทำไมก่อนเล่น Bench Press ต้อง Warm Up
"HIP FLEXORS"
มา เล่นให้ดูสดๆ
bench press warm up 在 ชุมชนคนสร้างซิกแพ็ค sixpackclub.net Facebook 的最佳解答
#อาการบาดเจ็บที่มาจากการออกกำลังกาย
ถ้าเราไม่ออกกำลังกายจนเจ็บ เราก็ไม่ได้มาซึ่งสุขภาพดี จริงหรือ? (คล้ายๆ No pain No gain)
หลายคนคงได้ยินวลีที่ว่า "No pain No gain" กันบ้างแล้ว ถ้าจะแปลตรงตัวก็แปลว่า ถ้าไม่เจ็บ ก็ไม่เกิดการพัฒนา จนวลีนี้เป็นเป็นวลียอดฮิตของใครหลายคนที่เริ่มต้นออกกำลังกาย ฮึดสู้เพื่อสิ่งที่ดีงาม รวมทั้งคนที่เป็นนักกีฬาชื่อดังก็ยังใช้วลีนี้เป็นคติประจำใจ เพื่อสร้างกำลังใจให้ตนเอง
แน่นอนว่าเป็นแรงจูงใจที่ดีไม่น้อยเลยล่ะ แต่ในบางกลุ่มกลับใช้คำนี้ในทางที่ฝืนๆอยู่เยอะมาก แม้กระทั่งออกกำลังกายจนกระทั่งเจ็บตัวเช่นกัน
เอาล่ะ...วันนี้จะมาอธิบายการเจ็บจากการออกกำลังกายกันค่ะ ว่าอาการบาดเจ็บที่นิยมมักจะเจ็บตรงไหนบ้างที่เกิดขึ้นเนื่องจากการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬา
1. ข้อเท้าแพลง (Ankle Sprain)
- อาการบาดเจ็บที่ข้อเท้าซึ่งมักเกิดจากอุบัติเหตุที่ทำให้ข้อเท้าพลิก จนทำให้เอ็นช่วยยึดกระดูกระหว่างข้อเท้ากับกระดูกขาเกิดอาการยึดตึงเกินปกติหรือฉีกขาด เมื่อเกิดข้อเท้าแพลง จึงทำให้ร่างกายไม่สามารถขยับเคลื่อนไหวช่วงข้อเท้าได้ตามปกติ
- สามารถเกิดได้ทั้งกับนักวิ่งบนลู่และนักวิ่งนอกอาคาร เพราะทันทีที่เราละการจดจ่อจากการเคลื่อนไหว อาจเผลอลงน้ำหนักหรือวางเท้าในองศาที่ผิดธรรมชาติได้ ดังนั้นจึงควรสังเกตเส้นทางอยู่ตลอดเวลา หรือหากชอบวิ่งชิลๆ ก็ควรหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ไม่คุ้นเคย
2. สะบ้าอักเสบ (Patellar Tendinitis)
- โรคเอ็นสะบ้าอักเสบ เกิดจากการบาดเจ็บของเอ็นที่ยึดกระดูกตั้งแต่บริเวณสะบ้าไปจนถึงบริเวณหน้าแข้ง ซึ่งทำหน้าที่ควบคู่ไปกับกล้ามเนื้อต้นขาส่วนหน้า ทำให้สามารถงอหรือยืดเข่าได้ โดยมักเกิดในนักกีฬาที่ต้องใช้กำลังกระโดดอยู่เสมอ เช่น นักบาสเก็ตบอล นักวอลเลย์บอล
- เป็นอาการที่พบบ่อยจากการวิ่ง กระโดด และทําท่าสควอต วิธีป้องกันคือการบริหารกล้ามเนื้อส่วนต้นขาส่วนหน้า (Quadriceps Muscle) ให้แข็งแรง ด้วยท่าง่ายๆคือ นั่งบนเก้าอี้แล้วเหยียดขาออกขนานกับพื้น จากนั้นลดขาลง ทําพร้อมกันทั้งสองข้างหรือสลับทําทีละข้างก็ได้
3. กล้ามเนื้อหน้าแข้งอักเสบ (Shin Sprint)
- อาการบาดเจ็บบริเวณด้านในของหน้าแข้งพบมากในนักวิ่งและคนที่ออกกําลังกายท่ากระโดดหรือกระทบกระทั่งอย่างหักโหม มักจะบาดเจ็บช่วงสันหน้าแข้ง (Tibialis Anterior)
- ดังนั้นสําหรับคนที่ชอบออกกําลังกาย ไม่ควรเพิ่มความเข้มข้นและความถี่ของกิจกรรมทันทีทันใด จะช่วยลดโอกาสการบาดเจ็บประเภทนี้ได้
อาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อ จากการออกกําลังกายส่วนใหญ่มาจากการเคลื่อนไหวซ้ำๆ
4. ปวดหลังช่วงล่าง (Lower Back pain)
- อาจมาจากการทําท่า Squat และท่า Deadlift หรือท่ายกเวตต่างๆ ที่ผิดวิธี ดังนั้นจึงควรจัดท่าทางให้ถูกต้อง เริ่มแรกอาจลอง Workout หน้ากระจกเพื่อสังเกตตัวเองก่อนก็ได้
5. เอ็นหัวไหล่บาดเจ็บ (Rotator Cuff tear)
- อาการสำคัญ มักจะปวดเวลานอน โดยเฉพาะตอนนอนตะแคงทับ ปวดเวลายกแขนขึ้นหรือลงในบางท่า อาจมีอาการอ่อนแรงในขณะยกหรือหมุนหัวไหล่ เสียงเสียดสีในขณะขยับบางท่าของไหล่
- พบบ่อยในผู้ที่ชอบว่ายน้ำ ขว้างลูกบอล ยกน้ำหนัก หรือทํากิจกรรมที่ต้อง ชูมือเหนือศีรษะส่วนใหญ่มาจากการทําท่าทางดังกล่าวซ้ำๆ จึงควรหลีกเลี่ยง หากยกเวตก็ควรเลือกน้ำหนักที่พอเหมาะ ไม่ฝืนจนเกินไป
6. กล้ามเนื้อหน้าอกบาดเจ็บ (Chest Muscle pain)
- อาจจะเกิดระหว่างการนอนยกน้ำหนักบนม้านั่ง (Bench Press) หรือการใช้น้ำหนักมากเกินไป อาจเป็นสาเหตุให้กล้ามเนื้อหน้าอกฉีกขาดได้ จึงควรแน่ใจทุกครั้งว่าเลือกน้ำหนักที่สามารถยกไหวและควบคุมได้ เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บ
- ถ้ายังไม่มั่นใจอย่าเพิ่งใช้ 1RM (One Repetition Maximum เป็นการยกได้หนักสุด สูงสุดตลอดช่วงการเคลื่อนไหว) เป็นวิธีใช้ในกลุ่ม Bodybuilder เท่านั้น เพราะในบุคคลทั่วไปเสี่ยงอันตรายมากๆ ทำให้เสี่ยงบาดเจ็บง่าย
7. เอ็นข้อศอกอักเสบ
- อาจเป็นได้ทั้งเอ็นข้อศอกด้านนอกอักเสบ (Tennis Elbow) เกิดจากการอักเสบของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ extensor carpi radialis brevis พบในคนที่เล่นเทนนิส แต่ออกกำลังกายที่เน้นจุดนั้นก็มีสิทธิ์บาดเจ็บได้ และเอ็นข้อศอกด้านในอักเสบ (Golfer Elbow) การอักเสบบริเวณด้านในข้อศอก (medial epicondylitis) ของกลุ่มกล้ามเนื้อ flexor group โดยมักเกิดการฉีกขาดของเส้นใยกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นเพียงเล็กน้อย และเมื่อผู้ป่วยยังคงทำกิจวัตรตามปกติทำให้เกิดการฉีกขาดมากขึ้น แล้วเกิดการอักเสบในที่สุด
- เมื่อเริ่มมีอาการปวดบริเวณหัวไหล่ด้านหน้าลงมาถึงช่วงต้นแขน และอาจเลยมาจนถึงข้อศอก อาจเป็นสัญญาณเตือนของอาการเอ็นข้อศอกอักเสบ วิธีป้องกันคือ ออกกําลังกายให้หลากหลายและหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องทําท่าทางซ้ำๆ เพื่อลดการบาดเจ็บในกล้ามเนื้อส่วนนั้น
.
แล้วเราจะลดอาการบาดเจ็บเหล่านี้ได้ยังไง?
1. ควรมีเวลาให้พัก
- ถ้าคุณอยากให้กล้ามเนื้อพัฒนาควรพัก การเล่นซ้ำก็สามารถสร้างกล้ามเนื้อได้ แต่ในขณะเดียวกัน ถ้ายังมีอาการบาดเจ็บอยู่ จะเป็นการทำลายกล้ามเนื้อ ไม่ได้สร้างพัฒนาการเลย
- ถ้าเริ่มมีอาการบาดเจ็บอย่าฝืนเล่น เพราะยิ่งฝืนเล่น จะยิ่งเจ็บเพิ่มขึ้น เช่น เจ็บช่วงเอ็นที่ยึดกล้ามเนื้อกับกล้ามเนื้อ (Tendon) เอ็นที่เป็นกล้ามเนื้อกับกระดูกหรือระหว่างกระดูก (Ligament) หรือเจ็บจากเส้นประสาทบางส่วน แม้กระทั่งกระดูกก็ควรพักเพื่อรักษาตัว
- ควรพักขั้นต่ำ 3 วัน ถ้ายังไม่หายเจ็บดี ให้พักต่อไปจนกว่าจะหายครับ ปกติประมาณ 1 สัปดาห์ ถ้าไม่ทุเลาควรไปพบแพทย์
2. เมื่อพักแล้ว มันต้องดีขึ้นแน่นอน
- หลังจากพักหายดีแล้ว พอกลับไปออกกำลังกายอีกครั้ง เราจะรู้สึกได้ทันทีว่าแข็งแรงขึ้น ไม่เจ็บเหมือนเดิม และออกกำลังกายได้มากกว่าเดิม
- ขอแค่อย่าเพิ่งถอดใจ เพราะเป็นใครก็ต้องเจ็บเป็นธรรมดา เราแค่กลับมาเพื่อให้เวลาพักกับตัวเอง แล้วค่อยไปลุยต่อ
- อย่าคาดหวังสูง กดดันตัวเองจนเกินไปว่าจะต้องเป็นแบบนี้ ให้เน้นความพอดีๆ แต่สม่ำเสมอแทน เราจะประสบความสำเร็จในการออกกำลังกาย เพราะว่ากรุงโรมไม่ได้สร้างเสร็จในวันเดียว สุขภาพที่แข็งแรงเช่นกัน
3. รู้จักวิธีปฐมพยาบาล
- รู้จักวิธีปฐมพยาบาลถือเป็นสิ่งสำคัญ ผู้ที่เกิดอาการบาดเจ็บจะต้องหยุดวิ่งเพื่อพักทันที เพราะจะทำให้อาการบาดเจ็บนั้นรุนแรงขึ้นได้
- ทำการประคบเย็นโดยใช้ผ้าขนหนูห่อน้ำแข็ง หลังเกิดการบาดเจ็บประมาณ 15 นาที พักหยุด 10 นาที ภายใน 1 ชั่วโมงแรก
- รัดด้วยผ้ายืด(Bandage) อย่าให้แน่นจนเกินไป เพื่อป้องกันอาการชาและไม่ให้บวมมากขึ้น
- ถ้ามีอาการบาดเจ็บรุนแรงแล้วหลังปฐมพยาบาลยังไม่ดีขึ้น จะต้องรีบไปพบแพทย์ทันที
4. อย่าลืม Warm Up กับ Cool Down
- ควรให้เวลาในการ Warm Up เพื่อเป็นการเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวหรือ Range Of Motion และเพื่อเตรียมสภาพกล้ามเนื้อเพื่อลดการบาดเจ็บ
- การ Warm Up เป็นการอบอุ่นร่างกายเพื่อให้พร้อมก่อนที่จะออกกำลังกาย ซึ่ง Static Stretching หรือแบบนิ่งอยู่กับที่ ควรทำในแต่ละท่าท่าละ 30-45 วินาที และ Dynamic Stretching หรือเป็นแบบเคลื่อนที่ 5-10 นาที
- การ Cool Down เป็นการฟื้นตัวสภาพร่างกายหลังการออกกำลังกาย เพื่อกลับเข้าสู่สภาวะปกติ ให้ทำแบบ Static Stretching ในแต่ละท่าค้างไว้ 5-10 นาที
5. ปรับเทคนิคการเล่น
- การเล่นเวทเทรนนิ่งจะต้องล็อกสะบัก(Scapula) เพื่อให้ท่าทางของหลังตรง ไม่เกิดช่วงโค้งของสันหลัง จะได้ไม่ต้องเจ็บช่วงหลังส่วนล่างมากเกินไป และควรงอเข่า เพื่อป้องกันการบาดเจ็บช่วงเอ็นข้อเข่าไม่ให้ฉีกขาดหรือเกิดการอักเสบ
- ถ้ารู้สึกหน้ามืดเกินไปขณะออกกำลังกาย ให้นั่งพักเพื่อให้ตัวเองได้ผ่อนคลาย แต่ถ้าไม่ทุเลาควรหยุดออกกำลังกายทันทีเพื่อความปลอดภัย จนกว่าจะดีขึ้นจนสามารถออกกำลังกายได้ตามปกติ
- การปรับในเทคนิคกีฬาขึ้นอยู่กับทักษะกีฬานั้นๆ ควรปรับเทคนิคการเล่นเพื่อประสิทธิภาพในการเล่นกีฬาดีขึ้น ลดผลกระทบการบาดเจ็บที่เกิดจากเทคนิคผิดพลาดได้
ทุกๆ บทเรียนย่อมต้องแลกมาด้วยความเจ็บปวดอยู่เสมอ แต่เราไม่จำเป็นต้องดันทุรังให้เจ็บเลย ถ้าเรารู้จักถนอมตัวเอง นึกถึงสมดุลของตัวเองให้เป็น เรามีสิทธิ์เลือกที่จะไม่เจ็บก็ได้ ถ้าเรารู้จักที่จะเล่นให้เป็น รู้จักที่จะลดความเสี่ยงของตนเอง แต่ในขณะเดียวกัน เราต้องมีความคิดให้มากขึ้น เพื่อความปลอดภัยของตนเองมากที่สุด เพราะว่าการที่เราไม่เจ็บ เราสามารถออกกำลังกายได้ต่อเนื่องขึ้น ตามวลีนี้ว่า "No Pain You Gain" ไม่เจ็บตัว ย่อมเกิดขึ้นดีกว่า แล้วเราจะสนุกไปกับมัน จริงไหม?
♥️
bench press warm up 在 Fitjunctions Youtube 的最佳解答
คำเตือน: การออกกำลังกายมีความเสี่ยง หากบาดเจ็บควรพบแพทย์โดยด่วน!
พี่ฟ้าใสเป็น CPT / CES / Sports nutrition coach ไม่ใช่นักกายภาพบำบัดนะ
คลิปนี้อาจมีภาพที่น่าหวาดเสียว
จุดประสงค์ของคลิปนี้เพื่อการศึกษา
- [ ] เกิดอะไรขึ้น เกิดขึ้นได้ยังไง
- [ ] ป้องกันยังไง
- [ ] ถ้าเกิดกับเราต้องทำยังไง
เกิดอะไรขึ้น
? POINT 1: เอ็นกล้ามเนื้ออก และ Biceps ฉีกขาด
ใน Instagram @ryancrowly
บอกว่ามีการผ่าตัด 4 ชั่วโมง
นอกจาก Pecs ยังมี Biceps ฉีกขาดด้วย
ไปให้กำลังใจ Ryan ได้ที่นี่ เพิ่ง๋าตัดเสร็จ ต้องการกำลังใจ
? POINT 2: Form & Load
ในคลิปเป็นการกางศอกออก ทำให้กล้ามเนื้ออกโดนยืดออก horizontal abduction
ประกอบกับ Frontal abduction ทำให้
กล้ามเนื้อ Triceps / Anterior Deltoid ทำงานน้อยลง
ทำให้กล้ามอกส่วน Sternal head ทำงานแบบเน้นๆ
? POINT 3: อาการบาดเจ็บแบบนี้ พบได้บ่อย
ในคนยกเวท
ปกติคนทั่วไปเคยชินกับ Concentric
พอต้องฝึกด้วยน้ำหนักเยอะๆ และค้างอยู่ช่วงที่ eccentric กล้ามเนื้อถูกยืดนานๆ ทำให้ไม่ไหว
ในช่วง Eccentric กล้ามเนื้อถูกยืดออก ช่วงนี้กล้ามเนื้อฉีกขาดได้ง่าย ถ้าใช้น้ำหนักเยอะมาก
อาการฉีกขาดกล้ามอก
จะเกิดได้ช่วง Extension 30 องศา
https://www.physio-pedia.com/Pectoralis_Major_Rupture
? POINT 4: Fatigue
ในคลิปน้ำหนักที่เยอะมาก (ประมาณ 220kg) และมีการยกหลาย Set ก่อนหน้านี้จนหมดแรง (failure)
คลิปที่เล่นเวทกันมาก่อนหน้า คลิปนี้
https://youtu.be/1xGAl7IVQeA
? POINT 5: ACTIONS ป้องกันยังไง
- [ ] Warm up อบอุ่นร่างกายก่อน
- [ ] ใช้น้ำหนักเหมาะสม
- [ ] ถ้าจะกางศอกกว้างๆ ให้ ลด นน ลง
- [ ] ถ้าจะใช้น้ำหนักเยอะมากๆ ทำ PR อย่าเล่นจนหมดแรงมาจาก Set ก่อนหน้า
- [ ] สื่อสารกับ Buddy อย่าปล่อยให้หมดแรง
- [ ] ถ้าเกิดแบบนี้ขึ้น: Rupture รีบพบแพทย์ อาจจะต้องผ่าตัดด่วน
คลิปต้นเรื่อง
https://youtu.be/1xGAl7IVQeA
https://youtu.be/3NLMjbjvEMc
? References
ISSA CORRECTIVE EXERCISE
https://www.physio-pedia.com/Pectoralis_Major_Rupture
Manske RC,Prohaska D. Pectoralis major tendon repair post surgical rehabilitation. N Am J Sports Phys Ther 2007; 2(1): 22–33.
Wolfe SW, Wickiewicz TL, Cavanaugh JT. Ruptures of the pectoralis major muscle, an anatomic and clinical analysis. Am J Sports Med 1992;20:587-593.
Tietjen R. Closed injuries of the pectoralis major muscle. J Trauma 1989;20:262-4.
Butt U, Funk L, Mehta SS,Monga P. J Shoulder Elbow Surg 2015 Apr;24(4):655-62.
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/h-ByyCU8HxU/hqdefault.jpg)
bench press warm up 在 cook kafemaru Youtube 的最佳解答
おひとり様のおやつ用にめちゃもっちり~なパンを焼いてみました。
砂糖もごくわずかの甘くないお食事パンです。
おひとり様用なので、強力粉は125gと少量。
今回も日清カメリヤの強力粉とドライイーストは赤サフで。
同じ手間なら大量に作った方がエコな感じはしますが、週に1回くらいお休みの時なんかにちょっとささっと手ごねパンを焼いて食べる!
なんでもやってみると楽しい発見もあったりして、いつかどこかで役に立つこともあるかも知れない!
時短もいいけどパン生地と「ねーねーあのさ~発酵しゅうりょう出来たー?」って会話も心にはとっても良いかもです!
手ごねパンは文章や動画だけでは伝えられない部分もたくさんありますが、良かったら挑戦してみてください。
私も日々もりもり勉強中~^^
まだまだ本を宣伝しまくってるかまふぇまるです。。。
おばさんだから、残りの人生好きなように生きる!
一回きりだもんね。
作ってみたいって人は
下にレシピあります↓
***************************************************
ダースのHPに書籍紹介を掲載してもらいました!
横浜流星くんのよこにいます!
良かったら見てね^^
https://www.morinaga.co.jp/dars/
「ダ・ヴィンチ」Web版に書籍の内容を紹介してもらいました!
こちらも良かったら覗いてみてください、実際に作って頂いてます。
https://ddnavi.com/review/591627/a/
★ ★ ★
初めてのレシピ本絶賛発売中~
2回目の重版になりました。
皆さんのおかげです、どうもありがとうございます^^
「大人気YouTuber “cook kafemaru”の
世界一作りやすいおうちスイーツ」
Amazonで購入できます。↓↓↓
https://www.amazon.co.jp/dp/4046045116/
もしもお住いの近くの本屋さんになかったら、セブンイレブンの
オムニ7でネット予約し、セブンイレブン店頭受け取りで買うことができます!
************************************************
【Ingredients】
★125g Bread flour
★5g Sugar
★2g Salt
★2g Dry yeast
88g Water
10g Unsalted butter(room temperature)
For Sprinkle:
Bread flour (as needed)
The best water temperature for the dough: About 15℃-20℃ for spring and autumn. About 10℃ for summer, and about 25℃-30℃ for winter.
【Directions】
①Combine the dry ingredients (★)and mix together with a whisk.
②Add Warm Water and stir using a spatula.
③Put it on the table and knead. (10mins)
④Add butter and knead more. (5mins)
⑤Make it round, then leave it at a warm place until it gets twice as bigger. (primary fermentation)
⑥Degas the dough from ⑤, divide it into 8 pieces and make them round.
⑦Cover them with a wet cloth and leave them for 10 mins. (bench time)
⑧Again, make them round.
⑨Cover them with plastic wrap or a wet cloth not to dry, leave it at a warm place until they get twice as bigger. (secondary fermentation)
⑩Sprinkle with the Bread flour (use a tea strainer)
⑪Put the your fingers on top and press down gently with one's fingertips.
⑫Preheat the oven at 356 °F/180℃, turn the degree down to 302 °F/150℃, and bake them for 15-16mins.
enjoy!
*Be careful not to let the dough dry out when you are letting it rise or rest.
*When the dough is too moist and sticky, powder the dough a little.
【材料】
★強力粉 125g
★砂糖 5g
★塩 2g
★ドライイースト 2g
水 88g
無塩バター(室温) 10g
強力粉(適宜)
*仕込み水の適温:
春・秋は、約15-20℃、夏は、約10℃、冬は約25-30℃です。
【作り方】
①★の材料をボウルに入れて泡だて器で混ぜる。
②水を加えてゴムベラなどで混ぜる。
③台の上に生地を取りだして、10分こねる。
④バターを加えてさらに5分ほどこねる。
⑤丸めてボウルに入れて、ラップなどを被せて大きさが約2倍になるまで暖かい場所に置いて一次発酵。
⑥生地のガス抜き後、8分割して、丸める。
⑦乾燥させないように濡れ布巾などを被せ、10分ベンチタイム。
⑧再びきれいに丸めなおして天板に並べる。
⑨ラップなどを被せて大きさが約2倍になるまで暖かい場所に置いて二次発酵。
⑩茶こしなどを使って上に強力粉をふる。
⑪オーブン180℃に予熱スタート。
パンをつぶさないような意識でパンの中央を小指で押して筋をつける。
(必ず優しく優しくそーっと押してください、力を入れてするとせっかく膨らんだパンのガスが抜けてぺしゃんこになります、そっと押せないよって方は⑧の時に上に強力粉を振って指で筋をつけてから二次発酵してください。)
⑫180℃に温めたオーブンを150℃に設定しなおして、15-16分焼く。
*発酵中やベンチタイム、成形時は生地が乾燥しないよう気を付けて下さい。
*以前upしたハイジの白パンとは食感が異なります。
こちらはふわふわではなく噛み応えのあるもっちりパンになります。
*視聴者の方に海外の方も多く質問の答えを探るためにyoutubeで海外のパン作りを見るようになりましたが、とても参考になります。
手で、あるいは身近な道具で工夫がすごい。
特に成形などは手の込んだものもたくさんあり、目から鱗、、
世界は広いです。
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/hpGdAg72Bxc/hqdefault.jpg)
bench press warm up 在 cook kafemaru Youtube 的最佳貼文
無花果と胡桃とクランベリーのパン | Fig, Walnut, and Cranberry Bread
粉を変えると当然ながらパンの味も変わります。
材料がすべてです。
だから面白いし奥が深いし楽しい!
リスドォルは軽さがあり、口どけが良くとても食べやすいです♡
フィリングはちょっと欲張りすぎた感じもしますが、お家で作る
時は家族の好みに合わせて、こんな具沢山にしても^^
少しくらい焦げてもふんわりいかなくても、いい~んです、
みんなでわいわい言いながら食べると美味しいですよ♪
チャンネル登録お願いします♪ Subscribe to my channel
https://www.youtube.com/user/soramomo0403
【Ingredients】4 Bread rolls
★200g Bread flour (Lys d'Or brand)
★5g Sugar
★2g Salt
135g water
2g Dry yeast
12g Unsalted butter(room temperature)
filling:
40g walnuts
80g Semi-dry figs
35g Dried cranberries
For Sprinkle
*Bread flour (as needed)
【Directions】
*Chop up the walnuts and dried figs roughly.
①Combine the dry ingredients (★)and mix together with a whisk.
②Combine water and dry yeast, then add it to ① and mix.
③Put it on the table and knead. (10mins)
④Add butter and knead more. (5mins)
When it barely sticks to the work surface anymore and forms a slightly rough film of gluten, it's done.
⑤Press the dough out flat. Add the filling and wrap them up in the dough. Knead for a few more minutes to distribute the filling into the dough .
⑥Make it round, then leave it at a warm place until it gets twice as bigger. (primary fermentation)
⑦Degas the dough from ⑥, divide it into 4 pieces and make them round.
⑧Cover them with a wet cloth and leave them for 15 mins. (bench time)
⑨Deflate the dough lightly, round off each piece again and line them up on a baking sheet.
⑩Cover with a tightly wrung out moistened kitchen towel and leave to rise again (2nd rising), until they are 1.5 to 2 times their original size.
⑪Preheat the oven to 250°C. Dust the rolls with bread flour (not listed in the ingredient list) using a tea strainer.
⑫ Slash the tops if you would like.
⑬Turn the oven temperature down to 230°C and bake the rolls for 14 minutes.
⑭Place it on a wire rack to cool.
*Baking time will vary according to your oven so please adjust accordingly.
*Be careful not to let the dough dry out when you are letting it rise or rest.
【材料】
★ リスドォル 200g
★砂糖 5g
★塩 2g
水 135g
ドライースト(saf赤) 2g
無塩バター(室温) 12g
フィリング:
クルミ 40g
無花果(セミドライタイプ) 80g
ドライクランベリー 35g
無塩バター(室温) 12g
*強力粉(分量外)
【作り方】
①材料(★)をボウルに入れ、泡立て器で混ぜる。
②水とドライイーストを混ぜ合わせ、①に加えて混ぜる。
③テーブルの上で捏ねる。 (約10分)
④バターを加えてさらに捏ねる。 (約5分)
⑤生地を平らにしてフィリングを乗せて包み生地に混ぜ込む。
⑥丸めて2倍になるまで暖かいところに置く。 (一次発酵)
⑦⑥の生地のガスを抜き、4つに分けて丸める。
⑧濡れ布巾で覆い、15分間ベンチタイム。
⑨生地をもう一度丸めなおし、天板の上に並べる。
(成形は動画を見てチャレンジしてみてください、無理な時は丸めてそのままでもok)
⑩2倍になるまで暖かいところに置く。 (二次発酵)
⑪オーブンを250℃に温める。茶こしを使ってパンに強力粉をふりかける。
⑫クープナイフ(なければカミソリの刃や良く切れる包丁など)を使って切り込みを入れる。
⑬オーブンの温度を230℃に下げ、約14分焼く。
⑭ワイヤーラックの上で冷ます。
*オーブンの機能に「加熱水蒸気」があれば10分ほどお使い下さい。
*焼く時間はオーブンによって異なりますので、調整してください。
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/Li3zy-U6v5g/hqdefault.jpg)