【從熱量了解減肥關鍵】#營養師杯蓋
大家算算看,熱量是多少呢❓
(給那個體重控制的朋友參考看看🙌🏻)
講到熱量,大家一定很常聽到TDEE(Total Daily Energy Expenditure)每日總熱量消耗,而這到底是什麼,以及該如何計算呢? 今天就來簡單分享一些觀念,希望能幫助到大家💪🏻
每日總熱量消耗,基本上就是身體一整天所消耗掉的熱量,也有人稱為維持體重的熱量(因為當攝取熱量= TDEE,體重會維持)。
✍🏻而每日總熱量消耗,就是基礎代謝率(BMR)+活動能量消耗(TEA)+攝食產熱效應(TEF)
🔅BMR(BMR,Basal Metabolic Rate)基礎代謝率🔅
基礎代謝率是身體為了要維持最基本運作所需要的熱量。
主要影響基礎代謝率的因素有「體重、年齡、肌肉量」等。
(大約佔每日總熱量消耗60-75%)
🔅TEA(Thermic effect of activity)活動能量消耗🔅
包括體能消耗、運動以及非運動活動產熱(例如走路、站立)
(約佔15-30%)
🔅TEF(thermic effect of food)攝食產熱效應🔅
例如:吃東西咀嚼、或分泌消化液所消耗的熱量
(約占10%)
綜上所述…
✍🏻想要減重,大部分的人都是會想要往熱量赤字走,但其實還有其他關鍵,除了不可變因素年齡、性別會影響到總熱量外,我們可以盡量往可變因素來調整
一、增加活動量,提每日總熱量消耗
二、增加肌肉量,提高基礎代謝率
三、多喝水、多吃(蛋白質要足夠),能夠增加代謝率
最後…
✍🏻大家可以看看第二頁的圖,嘗試計算熱量,也可以參考第三頁的圖片來設定目標!
有其他問題都可以一起留言討論唷!
_
👉🏻右滑👉🏻有加碼圖
_
▶️標記、分享給需要的朋友
▶️追蹤 @Nutruelife
▶️營養初、營養吃、營養師,讓健康飲食的生活從這開始吧!
_
#營養 #營養師 #健康 #飲食 #健康飲食 #均衡飲食 #熱量控制 #熱量 #卡路里 #nutrition #增重 #增肌 #減脂 #減肥
同時也有4部Youtube影片,追蹤數超過2,210的網紅DJ Macky Suson,也在其Youtube影片中提到,Episode 5: CYCLING IN SINGAPORE TOUR WITH GOPRO HERO 9 Health benefits of regular cycling Health benefits of regular cycling Cycling is mainly an aer...
「metabolic activity」的推薦目錄:
- 關於metabolic activity 在 營養初 Nutrue - 營養師杯蓋 Facebook 的最佳解答
- 關於metabolic activity 在 Rain Bread 飲食信仰-鄭惠文營養師 Facebook 的最讚貼文
- 關於metabolic activity 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的精選貼文
- 關於metabolic activity 在 DJ Macky Suson Youtube 的最佳解答
- 關於metabolic activity 在 DJ Macky Suson Youtube 的最讚貼文
- 關於metabolic activity 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的精選貼文
- 關於metabolic activity 在 What is Metabolism? - YouTube 的評價
metabolic activity 在 Rain Bread 飲食信仰-鄭惠文營養師 Facebook 的最讚貼文
上一回學習計算BMR,今天就來聊聊TDEE吧!
TDEE就是「每日總消耗熱量」
包含基礎代謝率、活動消耗、食物後然效應及運動消耗
✨基礎代謝率(Basal Metabolic Rate):指人體在非劇烈運動、非消化食物的狀態下,維持生命所需的最低熱量。
✨活動消耗(Non-Exercise Activity Thermogenesis):非運動性的熱量消耗
包含有意識的:走路、拿東西、打字、划手機…等
以及無意識的:眨眼、抖腳…等
✨食物後然效應(thermic effect of feeding):食物吃下肚後,消化吸收所耗的能量,如消化液分泌、腸胃道蠕動、細胞吸收養分等。
✨運動消耗(Exercise Activity Thermogenesis):運動時所消耗的熱量。
TDEE的計算可參考PAL係數
例如Tracy就是辦公室久坐者,TDEE=BMR*1.4~1.65
減重者:TDEE*0.8或TDEE減300~500大卡
增重者:TDEE加300~500大卡
通常我會用不同方式來計算熱量所需
例如參考TDEE、用體重*30~35、對照DRIs表格等方法
找出自己熱量所需的範圍
再來評估該把熱量定在哪裡,既適合自己又能有效執行!
動動手指頭,算算看自己的熱量需求是多少吧~
#營養師 #熱量 #TDEE #熱量需求 #BMR #基礎代謝率 #熱量攝取 #減脂 #運動
metabolic activity 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的精選貼文
โพสต์นี้ว่าด้วยเรื่องของ "น้ำหนักร่างกาย"
ที่ผมต้องมาพูดประเด็นนี้ เรื่องจากตอนนี้การป้องกันโรคดูจะเป็นเรื่องสำคัญไม่แพ้กับการรักษาโรคไปแล้ว ณ ตอนนี้ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
.
และหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้อาการต่างๆแย่ลงได้ นั่นก็คือ "ภาวะน้ำหนักเกิน" (overweight) นั่นเองครับ เพราะน้ำหนักที่เกินในระยะเวลานานๆจะทำให้ร่างกายมีปัญหาของเรื่องความดันโลหิตสูง เบาหวาน metabolic syndrome และอะไรตามอีกมากมาย ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของอัตราการเสียชีวิตอย่างเห็นได้ชัด
.
น้ำหนักที่เกิน (overweight) นี้ ขอใช้นิยามเดียวกับคนทั่วไป คือ ไม่ได้มีสัดส่วนของกล้ามเนื้อที่มากกว่าปกติ เช่น คนเล่นกล้าม ที่น้ำหนักอาจจะเกินเกณฑ์มาตรฐานได้ โดยที่ทั้งๆที่สัดส่วนของร่างกายดูปกติ เพราะบางครั้งการวัดน้ำหนักตามเกณฑ์ BMI อาจจะทำให้เราพลาดในส่วนนี้ไปได้ แต่รายละเอียดตรงนี้อาจจะไม่จุดประสงค์ที่จะพูดกันในวันนี้ครับ
.
ผมอยากจะขอพูดเรื่องสิ่งที่เรียกว่า "ความอ้วน" เป็นหลักมากกว่า โดยไม่ได้พูดเรื่องน้ำหนักที่เกินเกณฑ์ตามประโยคข้างต้น เอาแบบให้เห็นภาพคือ เราอ้วน เราใส่กางเกงตัวเดิมไม่ได้ทั้งๆที่เราใส่ได้ น้ำหนักเราขึ้นมาหลายสิบกิโลกรัมในช่วงหลายปีที่ผ่านมาทั้งๆที่เราไม่ได้อยู่ในวัยที่เจริญเติบโตของร่างกายใดๆ หรือใครที่กำลังคิดถึงรูปร่างของเราเมื่อสักช่วงสมัยเรียนมหาวิทยาลัยอะไรประมาณนั้นครับ
.
ผมขอยกเนื้อหาบางส่วนมาจากหนังสือที่มีชื่อว่า "The Obesity Code" ของ Dr.Jason Fung ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจ โดยขอสรุปใจความเนื้อหาไว้ดังนี้ครับ
.
หลายๆคนอาจจะเข้าใจว่า "ความอ้วน" มาจาก แคลอรี่ที่กินเข้าไป > แคลอรี่ที่ใช้ออกมา เช่น เราจะคิดว่า เพราะเรากินมาก แต่ออกกำลังกายน้อย นั่นทำให้เราอ้วน ซึ่งอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว เพราะจริงๆแล้วร่างกายมีการปรับระดับอัตราการเผาผลาญให้มากขึ้นหรือลดลงได้ตามพลังงานที่ร่างกายได้รับเข้ามา
.
Total Energy Expenditure ตัวย่อ TEE แปลว่า พลังงานที่ร่างกายได้เผาผลาญไปในวันนั้นๆ จะมาจาก 3 ส่วน คือ 70% มาจาก Basal metabolic rate ซึ่งร่างกายจะปรับขึ้นลงโดยอัตโนมัติ 10% มาจาก Thermic Effect of food ซึ่งก็คือพลังงานที่ต้องใช้ในการย่อยอาหารที่เรากินเข้าไป โดยโปรตีนจะใช้พลังงานมากที่สุด และ อย่างสุดท้าย 20% เป็น Physical Activity ของเรานั่นเอง นั่งดูทีวี เดินไปทำงาน เดินไปซื้อกาแฟ พลังงานที่ใช้จะอยู่ในส่วนนี้ ซึ่งถ้าสมมติว่าคนๆหนึ่งใช้พลังงานต่อวันคือ 2,000 Kcal เท่ากับ พลังงานที่เกิดจากกิจกรรมนั้นจะอยู่ที่ราวๆ 300-400 Kcal เท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ประเด็นหลัก เพราะเรามีผลวิจัยมากมายที่ชี้ว่า ถ้าเรากินมากขึ้น พลังงานจะถูกเผามากขึ้นจาก (BMR + TEF ที่มากขึ้น)
.
การกินน้อยเพื่อลดน้ำหนัก (Caloric restriction) อาจจะได้ผลในช่วงแรก แต่ผลลัพธ์สุดท้าย ร่างกายจะปรับ BMR ให้ลดต่ำลงจากพลังงานที่เข้ามาน้อย เพราะร่างกายจะเข้าสู่โหมด starvation คือต้องสงวนพลังงานเอาไว้ใช้
.
ลองคิดภาพตามนะครับ ถ้าจริงๆแล้ว ร่างกายเราต้องใช้พลังงาน 2,000 kcal ต่อวัน แล้วเราทานวันละ 1,500 kcal ต่อวัน จนสุดท้ายร่างกายปรับ TEE มาเหลือ 1,500 kcal ต่อวัน นั่นแปลว่า Calories in - Calories out = 0 นั่นคือทางตันของน้ำหนักที่ลดแล้วใช่ไหมครับ ??? อันนี้คือจุดเริ่มต้นของ Yoyo effect ที่เราพยายามหลีกเลี่ยงนั่นเอง เพราะถ้าเรากินแค่วันละ 1,000 kcal ต่อวัน เราไม่สามารถทำได้ในระยะยาว เพราะร่างกายจะทรุดโทรมอย่างมาก จนสุดท้ายเราจะกลับมากินอย่างมากมาย และน้ำหนักจะขึ้นพรวดพราด และสิ่งที่เร็วร้ายที่สุดคือ การกู้ metabolic rate ให้กลับมาเท่าเดิม นั้นต้องใช้เวลานานมากครับ และนั่นถืงเป็นสาเหตุว่า ทำไมเวลาเกิน Yoyo effect แล้ว น้ำหนักถึงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมักกลับขึ้นเกินน้ำหนักเดิมที่ก่อนตั้งใจลดน้ำหนักเสียอีก
.
จากบทสรุปด้านบน อาจจะบอกได้จริงๆแล้ว ความอ้วน ไม่ได้มาจาก แคลอรี่ แล้ว ความอ้วน มาจากอะไร???
.
เมื่อเราเริ่มต้นหาจุดกำเนิดของความอ้วนที่เกิดขึ้นทั่วโลก เราจะพบว่าความอ้วนของมนุษย์พึ่งมาเกินในช่วงหลังราวๆสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ก่อนหน้านี้ประวัติศาสตร์ของความอ้วนมีอยู่เพียงกลุ่มเฉพาะ ไม่ได้เป็นโรคระบาดเหมือนในปัจจุบัน โดยความอ้วนที่เกิดแบบชุกที่สุดจะเกิดในชาติตะวันตก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อเราไปสังเกตว่าสิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในช่วงนี้ เราจะพบว่า "อาหาร" คือปัจจัยที่สำคัญที่สุด โดยอาหารที่ว่าก็คือ "บรรดาอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต + แป้ง" หรือ Fast food นั่นเอง ที่คนอเมริกันบริโภคกันอย่างมหาศาล แล้วตอนนี้เราจะเหมารวมว่า "แป้งหรือคาร์โบไฮเดรต" เป็นผู้ร้ายได้หรือไม่
.
ในขณะเดียวกันถ้าเราไปดูประเทศอย่างจีน หรือ ญี่ปุ่น ที่เรียกกว่ากินข้าวกันเป็นกระสอบในช่วงเวลาเดียวกัน ภาวะโรคอ้วนกลับไม่พบอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นผู้ต้องสงสัยที่เรากำลังหมายหัวอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว แสดงว่าต้องมีอะไรที่อยู่ในแป้งที่เรากำลังสงสัยอยู่
.
นั่นคือที่มาของคาร์โบไฮเดรตที่มีคำว่า unprocessed กับ processed นั่นเองครับ สิ่งที่คนอเมริกันกินประจำคือ processed carb หรือพวกบรรดาขนมปังเบอร์เกอร์ ขนมเค๊ก ในขณะที่คนเอเชียทาน ข้าวเจ้า หรือ unprocessed carb ความแตกต่างของการขัดสีแป้ง ทำให้พวกบรรดาใยอาหารต่างๆนั้นสูญหายไประหว่างการผลิตซึ่งถือเป็นจุดสำคัญที่สุดของเรื่องราว เพราะเมื่ออาหารที่ไม่มีกากใยย่อมดูดซึมได้ง่ายและเราจะทานได้มากกว่าปกติเพราะอิ่มยาก ในขณะที่อาหารที่มีกากใยทุกอย่างจะเกิดขึ้นในทางตรงกันข้าม ในคิดภาพ ระหว่างทานข้าวกล้อง กับ ขนมปัง ดูครับ จะเห็นได้ชัด
.
แต่ความแตกต่างที่มากที่สุดต่อ แป้ง 2 ชนิดนี้คือ ผลลัพธ์ของการกระตุ้นฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) นั่นเอง โดย processed carbohydrate จะทำให้อินซูลินหลั่งอย่างมากมาย เนื่องจากอินซูลินมีหน้าที่เก็บ กลูโคส (Glucose) หน่วยที่เล็กที่สุดของแป้งหลังจากผ่านการย่อยในระบบทางเดินอาหารเมื่อเข้าไปสู่ในกระแสเลือด โดยอินซูลินจะทำการเก็บกลูโคสไปไว้ในเซลล์เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดลง โดยที่ในขณะที่อินซูลินกำลังทำงาน สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ ร่างกายจะปิดระบบการเผาผลาญพลังงานด้วยไขมันในทันที ร่างกายจะใช้โหมด energy storage แทน อินซูลินที่หลั่งกำลังบอกเราเรากำลังเอาอาหารเข้าไปสะสมนั่นเองครับ ซึ่งอาหารที่เป็น unprocessed carbohydrate จะเกิดในลักษณะที่ใกล้เคียงกันแต่ความชันของกราฟการหลั่งอินซูลินนั้นจะต่ำกว่าและชันน้อยกว่ามาก ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในร่างกายเลยไม่เหมือนกัน
.
เราพอจะมองเห็นแล้วใช่ไหมครับว่า จริงๆแล้วผู้ต้องสงสัยจริงคือใคร ณ ตอนนี้ มันไม่ใช่ แป้ง ไม่ใช่ข้าว แต่มันคือ "น้ำตาล" (sugar) นั่นเอง เพราะน้ำตาลทำให้อินซูลินหลั่งอย่างรวดเร็ว อธิบายให้เห็นภาพว่า ถ้าเรากินน้ำอัดลม 3 กระป๋อง (600 kcal) กับ การทานข้าวกล้อง 600 kcal เช่นเดียวกัน ตัวเลขพลังงานเท่ากัน แต่ความอ้วนที่เกิดขึ้นไม่เท่ากันแน่นอน
.
ทีนี้เราอาจจะบอกว่า ในเมื่อสุดท้ายแล้ว ไม่ว่าจะแป้งอะไรก็ตามก็ต้องย่อยเป็นกลูโคสอยู่ดี แล้วมันจะแตกต่างกันได้อย่างไร เราอธิบายได้ด้วยเรื่องของกราฟการหลั่งอินซูลินด้านต้นนั่นเองครับ ยิ่งร่างกายหยุดหลั่งอินซูลินได้เร็วเท่าไรคือกลับมาแตะเลข 0 ร่างกายเราก็จะเปลี่ยนโหมดพลังงานจากการเก็บ (storage) ไปเป็นการใช้นั่นเองครับ ซึ่งจริงๆโทษของคาร์โบไฮเดรต เราอาจจะโทษน้ำตาลไม่ได้ แต่เราต้องไปโทษที่ ระบบการขัดสีหรือปรุงแต่งอาหาร (process) มากกว่าครับ อะไรก็ตามที่มีรูปร่างแตกต่างจากธรรมชาติมากเท่าไร นั่นแปลว่ายิ่งผ่านการแปรรูปมามากเท่านั้น ในอีกนัยยะคือยิ่งทำให้อินซูลินหลั่งมากขึ้นนั่นเอง
.
ทวนอีกครั้งนะครับ คร่าวๆ
อินซูลิน (Insulin) หลั่งมาก ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะสะสมพลังงาน เปลี่ยน glucose ให้กลายเป็น triglyceride (fat) ลดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis)
อินซูลิน ไม่หลั่ง ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะการใช้พลังงาน เกิดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis) เกิดการสร้างกลูโคสใหม่จากไขมัน (gluconeogenesis)
.
ผลลัพธ์ของการทำให้อินซูลินหลั่งมากและหลั่งอยู่ตลอดระยะเวลาเป็นเวลานานๆ คืออะไรครับ นั่นคือ ภาวะการดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) นั่นเอง และภาวะการดื้ออินซูลินคือจุดเริ่มต้นของปัญหาอีกทั้งปวงที่จะตามมา
.
metabolic activity 在 DJ Macky Suson Youtube 的最佳解答
Episode 5: CYCLING IN SINGAPORE TOUR WITH GOPRO HERO 9 Health benefits of regular cycling
Health benefits of regular cycling
Cycling is mainly an aerobic activity, which means that your heart, blood vessels and lungs all get a workout. You will breathe deeper, perspire and experience increased body temperature, which will improve your overall fitness level.
The health benefits of regular cycling include:
increased cardiovascular fitness
increased muscle strength and flexibility
improved joint mobility
decreased stress levels
improved posture and coordination
strengthened bones
decreased body fat levels
prevention or management of disease
reduced anxiety and depression.
Back to top
Cycling and specific health issues
Cycling can improve both physical and mental health, and can reduce the chances of experiencing many health problems.
Obesity and weight control
Cycling is a good way to control or reduce weight, as it raises your metabolic rate, builds muscle and burns body fat. If you’re trying to lose weight, cycling must be combined with a healthy eating plan. Cycling is a comfortable form of exercise and you can change the time and intensity – it can be built up slowly and varied to suit you.
Research suggests you should be burning at least 8,400 kilojoules (about 2,000 calories) a week through exercise. Steady cycling burns about 1,200 kilojoules (about 300 calories) per hour.
If you cycle twice a day, the kilojoules burnt soon add up. British research shows that a half-hour bike ride every day will burn nearly five kilograms of fat over a year.
Cardiovascular disease and cycling
Cardiovascular diseases include stroke, high blood pressure and heart attack. Regular cycling stimulates and improves your heart, lungs and circulation, reducing your risk of cardiovascular diseases.
Cycling strengthens your heart muscles, lowers resting pulse and reduces blood fat levels. Research also shows that people who cycle to work have two to three times less exposure to pollution than car commuters, so their lung function is improved. A Danish study conducted over 14 years with 30,000 people aged 20 to 93 years found that regular cycling protected people from heart disease.
Cancer and cycling
Many researchers have studied the relationship between exercise and cancer, especially colon and breast cancer. Research has shown that if you cycle, the chance of bowel cancer is reduced. Some evidence suggests that regular cycling reduces the risk of breast cancer.
Diabetes and cycling
The rate of type 2 diabetes is increasing and is a serious public health concern. Lack of physical activity is thought to be a major reason why people develop this condition. Large-scale research in Finland found that people who cycled for more than 30 minutes per day had a 40 per cent lower risk of developing diabetes.
Bone injuries, arthritis and cycling
Cycling improves strength, balance and coordination. It may also help to prevent falls and fractures. Riding a bike is an ideal form of exercise if you have osteoarthritis, because it is a low-impact exercise that places little stress on joints.
Cycling does not specifically help osteoporosis (bone-thinning disease) because it is not a weight-bearing exercise.
Mental illness and cycling
Mental health conditions such as depression, stress and anxiety can be reduced by regular bike riding. This is due to the effects of the exercise itself and because of the enjoyment that riding a bike can bring.
metabolic activity 在 DJ Macky Suson Youtube 的最讚貼文
Health benefits of regular cycling
Cycling is mainly an aerobic activity, which means that your heart, blood vessels and lungs all get a workout. You will breathe deeper, perspire and experience increased body temperature, which will improve your overall fitness level.
The health benefits of regular cycling include:
increased cardiovascular fitness
increased muscle strength and flexibility
improved joint mobility
decreased stress levels
improved posture and coordination
strengthened bones
decreased body fat levels
prevention or management of disease
reduced anxiety and depression.
Back to top
Cycling and specific health issues
Cycling can improve both physical and mental health, and can reduce the chances of experiencing many health problems.
Obesity and weight control
Cycling is a good way to control or reduce weight, as it raises your metabolic rate, builds muscle and burns body fat. If you’re trying to lose weight, cycling must be combined with a healthy eating plan. Cycling is a comfortable form of exercise and you can change the time and intensity – it can be built up slowly and varied to suit you.
Research suggests you should be burning at least 8,400 kilojoules (about 2,000 calories) a week through exercise. Steady cycling burns about 1,200 kilojoules (about 300 calories) per hour.
If you cycle twice a day, the kilojoules burnt soon add up. British research shows that a half-hour bike ride every day will burn nearly five kilograms of fat over a year.
Cardiovascular disease and cycling
Cardiovascular diseases include stroke, high blood pressure and heart attack. Regular cycling stimulates and improves your heart, lungs and circulation, reducing your risk of cardiovascular diseases.
Cycling strengthens your heart muscles, lowers resting pulse and reduces blood fat levels. Research also shows that people who cycle to work have two to three times less exposure to pollution than car commuters, so their lung function is improved. A Danish study conducted over 14 years with 30,000 people aged 20 to 93 years found that regular cycling protected people from heart disease.
Cancer and cycling
Many researchers have studied the relationship between exercise and cancer, especially colon and breast cancer. Research has shown that if you cycle, the chance of bowel cancer is reduced. Some evidence suggests that regular cycling reduces the risk of breast cancer.
Diabetes and cycling
The rate of type 2 diabetes is increasing and is a serious public health concern. Lack of physical activity is thought to be a major reason why people develop this condition. Large-scale research in Finland found that people who cycled for more than 30 minutes per day had a 40 per cent lower risk of developing diabetes.
Bone injuries, arthritis and cycling
Cycling improves strength, balance and coordination. It may also help to prevent falls and fractures. Riding a bike is an ideal form of exercise if you have osteoarthritis, because it is a low-impact exercise that places little stress on joints.
Cycling does not specifically help osteoporosis (bone-thinning disease) because it is not a weight-bearing exercise.
Mental illness and cycling
Mental health conditions such as depression, stress and anxiety can be reduced by regular bike riding. This is due to the effects of the exercise itself and because of the enjoyment that riding a bike can bring.
metabolic activity 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的精選貼文
大食い動画を見ながら食べているとどうやら太っちゃうらしいのです。(みちゃうけど)
科学的な論文が出ていたのでご紹介してみました。
▼目次
00:00 はじめに
02:39 ながら食べのデメリット
05:04 ぽっこりお腹とテレビ(研究論文紹介)
06:58 ながら食べと摂取カロリー(研究論文紹介)
10:16 ながら食べで太らないコツ
#ながら食べ
#ダイエット食事
#太らない食べ方
-----------
▽長谷川ろみの活動概要
・元おデブ-20kg/アラフォー
・発酵ライフ推進協会 通信校 校長 &プロデュース
・東京商工会議所認定 健康経営アドバイザー
・腸活メディア「腸内革命」編集長 & 講師
・著書「発酵菌早わかりマニュアル」
・2019/6~腸活youtuber始めました!
Twitter:https://twitter.com/haseromi
Instagram:https://www.instagram.com/hasegawaromi/
-----------
▼関連動画
【検証】?15kg痩せた後に一週間大食いしたら何キロ太るのか?
https://www.youtube.com/watch?v=uOGft0CIlX8
【1週間】毎日大食いしても1日一食なら太らない説(デブエット...?)
https://www.youtube.com/watch?v=QQj19owQ6Yw
【3日間】 餃子の王将で大食い生活!何キロ太る?
https://www.youtube.com/watch?v=B8pM-daUVPc
唐揚げ1kg大食いしたら、どれだけ太るのかやってみたwww
https://www.youtube.com/watch?v=dv7N1Pifrfs
▼参考論文&研究
Television viewing and abdominal obesity in young adults: is the association mediated by food and beverage consumption during viewing time or reduced leisure-time physical activity?
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18469233/
Independent and joint associations of TV viewing time and snack food consumption with the metabolic syndrome and its components; a cross-sectional study in Australian adults
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/23927043/
On the road to obesity: Television viewing increases intake of high-density foods
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16822530/
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
metabolic activity 在 What is Metabolism? - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>