一般設計qPCR實驗,都會有「內部對照組」(internal control),意思即是,會用一些已知樣本必須存在的對象,來引證樣本以及qPCR過程沒有問題。探測RNA的qPCR實驗,一般會用人類RNA作對照組。現在的COVID qPCR測試公司,很多不設internal control,部分用RNAse P(下圖),少部份用Gapdh或Actb。2019年底的美國CDC指引,並沒有internal control,而且只做單次重覆(single replica)(一般我們量化的實驗會做triple replicates)。實驗設計來說,兒戲得很。
然而,這可能涉及人權和私隱問題。因為實驗的確倍化了人類RNA,未經授權,可以倍化RNAase P、Gapdh、Actb這些基因,那麼為什麼不可以倍化HLA基因(關乎器官捐贈匹配度的基因類別),不可以倍化BRCA基因(關乎乳癌風險的基因)呢?
倍化了的基因碎片,按現行法律,算是私隱嗎?可以測序檢定嗎?就算不測序檢定,用特定的引物(primer)組合,用qPCR測定出個人的HLA類別,又行嗎?反正他們現在都是隨便換Primer,公眾並無知情權,我也查不到。
這是必要探討的倫理問題,科學家不能視而不見。
圖:wikipedia
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過20萬的網紅Pumpkin Jenn,也在其Youtube影片中提到,?Please like this video if you enjoyed it :) ?Facebook Page: https://www.facebook.com/PumpkinJenn ?Instagram: http://instagram.com/pumpkinjenn Produc...
rna primer 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最佳貼文
เราตรวจหาเชื้อโควิด-19 ได้อย่างไร?
“มึงว่ากูติดยังวะ?” น่าจะเป็นคำถามที่คนถามมากที่สุดกันในช่วงนี้ ซึ่งวิธีเดียวที่จะรู้ได้แน่ๆ ว่าติดหรือไม่ติด ก็คือการ “ไปตรวจ” ว่าแต่ว่าการตรวจนี่เขาทำกันอย่างไร? ทำไมมันถึงแพงและใช้เวลานาน? เราพอจะมีวิธีอื่นที่จะตรวจได้เร็วกว่านี้หรือไม่
*ทำไมตรวจหาไวรัสจึงไม่ได้ตรวจได้ง่ายๆ?*
ถ้าจะให้อธิบายง่ายๆ ไวรัสก็เป็นแค่สารพันธุกรรมที่ทำจาก RNA และหุ้มด้วยเปลือกนอกที่ทำจากโปรตีนและไขมัน ปัญหาที่ท้าทายอย่างหนึ่งของการตรวจหาเชื้อไวรัสก็คือ ไวรัสนั้นมีขนาดเล็กมากเกินกว่าที่จะส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาได้ และปัจจุบันนี้นั้นเราก็ยังไม่พบวิธีที่จะสามารถเพาะเชื้อไวรัสภายนอกร่างกายของมนุษย์ได้ เราจึงไม่สามารถตรวจไวรัสจากการเพาะเชื้อได้ นอกไปจากนี้ในช่วงแรกๆ ของการติดต่อนั้นจำนวนอนุภาคไวรัสอาจจะมีน้อยมากเสียจนไม่สามารถตรวจวัดได้ด้วยวิธีปรกติ
วิธีหนึ่งที่เราสามารถตรวจหาเชื้อไวรัสได้ ก็คือการตรวจหาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ผลิตออกมาเพื่อต่อสู้กับเชื้อไวรัส (วิธี IgG/IgM) ซึ่งวิธีนี้ค่อนข้างสะดวกและรวดเร็ว และเหมาะกับการช่วยสกรีนผู้ป่วยแต่เนิ่นๆ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวิธีนี้นั้นใช้ตรวจหาภูมิคุ้มกันที่สร้างขึ้นมา ในระยะแรกๆ ของการติดเชื้อร่างกายอาจจะยังไม่ได้สร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมา ผลที่เป็นลบโดยวิธีนี้จึงไม่สามารถยืนยันได้อย่างแน่นอนว่าไม่ได้มีเชื้อไวรัสอยู่ในร่างกาย และเป็นการตรวจว่า "เราเคยติดเชื้อโควิด-19 แล้วหรือยัง" เสียมากกว่า ซึ่งกว่าจะตรวจวิธีนี้พบก็อาจจะปาเข้าไปสองอาทิตย์[2][3] ซึ่งตอนนั้นก็เลยเวลาที่ควรจะต้องกักตัวไปแล้ว
ดังนั้นหากเราต้องการจะตรวจดูว่าเราติดเชื้อหรือยัง ตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อกักตัว วิธีเดียวที่จะทำได้ก็คือการตรวจหาลำดับของกรดนิวคลีอิก (nucleic acid) ที่เป็นสารพันธุกรรมของไวรัส SARS-CoV-2 ที่ทำให้เกิดโรคโควิด-19
ความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เราเพิ่งจะรู้จักกับสารพันธุกรรมที่เรียกว่า DNA เมื่อไม่นานมานี้นี่เอง เราเพิ่งจะทราบว่า DNA มีโครงสร้างคล้ายบันไดเกลียวแค่เพียงประมาณ 50 ปีที่แล้ว และการใช้รหัสพันธุกรรมที่จำเพาะของ DNA ในการตรวจสอบทางนิติเวชก็เพิ่งจะเกิดขึ้นเมื่อปีค.ศ. 1986 นี่เอง แต่ด้วยความเข้าใจเรื่องชีวโมเลกุลที่เพิ่มมากขึ้นทำให้ทุกวันนี้เรามีเทคโนโลยีเพียงพอที่จะสามารถตรวจหารหัสพันธุกรรมของเชื้อไวรัสในผู้ป่วยแต่เนิ่นๆ ได้ในแบบที่เราไม่เคยทำได้มาก่อน
สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตนั้นถูกเขียนอยู่ในรูปของกรดนิวคลีอิก ซึ่งเปรียบได้กับตัวอักษรหนึ่งตัวในสมุดเล่มหนาๆ ที่เป็นรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดนั้นประกอบขึ้นจากตัวอักษรเพียงแค่สี่ตัว ได้แก่ C, G, A, T (หรือ U ในกรณีของ RNA) ซึ่งใน DNA นั้น เบสแต่ละตัวจะจับคู่กันกับคู่ของมัน โดย C จะคู่กับ G, A คู่กับ T เปรียบได้กับตัวต่อที่ลงล๊อคกันพอดี ใน DNA จึงประกอบขึ้นเป็นสายสองสายที่คู่กัน พันกันเป็นเกลียวคล้ายบันไดเวียน
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลกใช้ “ตัวอักษร” และ “ภาษา” เดียวกันในการถอดรหัสสารพันธุกรรมไปเป็นโปรตีน สิ่งเดียวที่ทำให้เราแตกต่างจากไวรัสก็คือ “เนื้อหา” ซึ่งขึ้นอยู่กับ “ลำดับ” ของการเรียงตัวอักษรในพันธุกรรม แม้กระทั่งเซลล์ร่างกายของเราก็ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าสารพันธุกรรมเส้นใดเป็นของเรา และเส้นใดเป็นของไวรัส นี่คือเหตุผลว่าทำไมรหัสพันธุกรรมของไวรัสจึงสามารถใช้ทรัพยากรของเซลล์เราในการเพิ่มจำนวนได้ แต่ในขณะเดียวกันนั่นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถแยกได้ว่าสารพันธุกรรมใดมาจากร่างกายของเรา และสารพันธุกรรมใดมาจากเชื้อไวรัส แต่เนื่องจากรหัสพันธุกรรมที่ประกอบขึ้นเป็นมนุษย์อย่างเรานั้น แตกต่างจากรหัสที่ทำให้ไวรัสเป็นไวรัสที่ร้ายแรงและสร้างโรคติดต่อได้ หากเราสามารถหาวิธีที่จะ “อ่าน” และค้นหาลำดับการเรียงตัวของรหัสพันธุกรรมที่เฉพาะเจาะจงที่ไม่พบในสิ่งมีชีวิตอื่นใดอีกเลยนอกไปจากเชื้อที่ทำให้เกิดโรคโควิด-19 อยู่ภายในร่างกายของเรา เราก็จะยืนยันได้ว่าเรามีเชื้อไวรัสอยู่
แต่ปริมาณของสารพันธุกรรมที่เราเก็บได้จากผู้ป่วยนั้นมีเพียงน้อยนิด ในตัวอย่างหนึ่งเราอาจจะมีสารพันธุกรรมเพียงแค่ 100 เส้นต่อการเก็บตัวอย่างหนึ่งครั้ง ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อยและมีขนาดเล็กเกินกว่าจะสามารถสังเกตเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์ใดๆ ได้ และปัจจุบันเรายังไม่มีวิธีใดที่จะหยิบบันไดเกลียวขนาดเล็กนี้มาเปิดอ่านราวกับเป็นหน้าหนังสือได้โดยตรง
แต่เนื่องจากสารพันธุกรรมนั้นเป็นสิ่งที่สามารถจำลองและเพิ่มจำนวนตัวเองได้ตามธรรมชาติ เราจึงสามารถพึ่งคุณสมบัตินี้ในการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมของไวรัสให้มีมากพอที่เราจะสามารถตรวจสอบได้
*วิธีตรวจมาตรฐานแบบ RT-PCR*
วิธีมาตรฐานที่แม่นยำที่สุดที่ยอมรับกันทั่วโลกและถือเป็นมาตรฐาน (Gold Standard) ในปัจจุบันก็คือ วิธีการตรวจหารหัสพันธุกรรมของ SARS-CoV-2 ผ่านทางกระบวนการที่เรียกว่า RT-PCR (Real-Time PCR)
วิธีนี้เริ่มจากสกัดและถอดรหัส RNA ของไวรัสในตัวอย่างให้อยู่ในรูปของ DNA (เรียกว่าขั้นตอน Reverse Transcription) จากนั้นเราจึงใช้คุณสมบัติของ DNA ในการจำลองตัวเองในธรรมชาติ เพื่อเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมของไวรัสในหลอดทดลองให้มากพอที่จะสามารถตรวจวัดได้ ผ่านทางปฏิกิริยาการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมแบบลูกโซ่ที่เรียกว่า Polymerase Chain Reaction (PCR)
ในการจำลองสารพันธุกรรมนั้น ขั้นแรกเราจะต้องมีการคลายเกลียว DNA และแยกออกจากกันก่อน โดยในหลอดทดลองเราทำได้โดยการเพิ่มความร้อนไปที่ 95°C จากนั้นเมื่อคลายเกลียวออกจากกันแล้วเราจะลดอุณหภูมิลงมาที่ 58°C และสาย DNA สั้นๆ ตั้งต้นที่เรียกว่า primer จะจับเฉพาะกับ DNA ที่ตรงกับรหัสพันธุกรรมของไวรัส และกรดนิวคลีอิกในสารละลายจะค่อยๆ จับกับคู่ของตนบนสาย DNA ที่คลายเกลียวออกทีละคู่ จนสุดท้ายจาก DNA หนึ่งเกลียว เราจะได้ออกมาเป็นสองเกลียวที่มีรหัสพันธุกรรมเหมือนกันทุกประการ และหากเราทำซ้ำไปเรื่อยๆ สัก 45 ครั้ง เราก็จะสามารถเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมในตัวอย่างของเราขึ้นมาเป็น 2^45 หรือประมาณ 35 ล้านเท่า
ในระหว่างนี้ เราสามารถออกแบบโมเลกุลมาโมเลกุลหนึ่ง ที่มีรหัสส่วนหนึ่งของเชื้อ SARS-CoV-2 ที่ไม่ได้ซ้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่นใด (สำหรับการตรวจหาโรคโควิด-19 เราใช้รหัส CAGGTGGAACCTCATCAGGAGATGC)[1] ติดกับโมเลกุล reporter ที่สามารถเรืองแสงได้เมื่อจับเข้ากับรหัสพันธุกรรมที่พอดีกันของไวรัส ซึ่งหากเครื่องมือ RT-PCR สามารถสังเกตเห็นแสงนี้ได้ ก็จะเท่ากับเป็นการยืนยันว่าในตัวอย่างนี้มีรหัสพันธุกรรมของไวรัสอยู่จริง โดยในวิธี Real-Time PCR นั้นการเพิ่มจำนวนจะทำไปเรื่อยๆ จนกว่าจะมีปริมาณสารพันธุกรรมของไวรัสมากพอที่สามารถตรวจพบได้ ซึ่งหากตัวอย่างนั้นมีอนุภาคไวรัสอยู่เยอะก็อาจจะพบหลังจาก cycle การเพิ่มจำนวนไปไม่มาก และใช้เวลาไม่นาน แต่หากตัวอย่างมีน้อยมากหรือไม่มี ก็จะต้องทำซ้ำไปถึง 40-50 cycle เพื่อให้แน่ใจว่าในตัวอย่างนั้นไม่มีสารพันธุกรรมของไวรัสจริงๆ
แม้ว่าวิธีการตรวจหารหัสสารพันธุกรรมในปัจจุบันจะได้รับการพัฒนาให้ถูกและเร็วกว่าเมื่อไม่ถึงสิบปีที่ผ่านมาเป็นอย่างมาก แต่ว่าวิธีดังกล่าวนั้นก็ยังมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง และใช้เวลาที่ค่อนข้างนานหลายชั่วโมง นอกไปจากนี้ยังต้องใช้เครื่องมือพิเศษที่ทั้งสามารถปรับ cycle อุณหภูมิที่พอเหมาะได้ และสามารถตรวจวัดแสงที่เรืองออกมาจากโมเลกุลของ reporter ที่ตรวจพบรหัสพันธุกรรมที่เรากำลังมองหา เนื่องจากเครื่องมือเหล่านี้นั้นมีจำกัด ขั้นตอนใหญ่ๆ ของการตรวจจึงเสียไปกับการส่งตัวอย่างที่เก็บได้ไปยังห้องทดลอง
จะเห็นได้ว่ากว่าจะได้คำตอบมาว่า “มึงว่ากูติดยังวะ” นั้นไม่ได้ง่ายๆ เลย และต้องผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนที่ทั้งยุ่งยากและเสียเวลาและทรัพยากรพอสมควร ซึ่งทั่วโลก แม้กระทั่งในไทยเอง ก็มีการศึกษาหาวิธีอื่นที่อาจจะลดขั้นตอนที่ยุ่งยากเหล่านี้ให้ถูก และเร็วกว่าได้อีก
*วิธีตรวจแบบใช้อุณหภูมิคงที่ loop-mediated isothermal amplification (LAMP)*
วิธีแรกที่เรียกสั้นๆ ว่า “LAMP” นั้น อาศัยการออกแบบชิ้นส่วนของ DNA ตั้งต้น ที่เราเรียกว่า primer ที่มีความสามารถในการเบียดแทนกัน และขดเป็นวงได้ คุณสมบัติพิเศษทั้งสองของ primer ที่ออกแบบนี้นั้น ทำให้เราสามารถทำการเพิ่มจำนวนของ DNA โดยที่ไม่ต้องผ่านขั้นตอนการคลายเกลียวออก ซึ่งนั่นหมายความว่าเราสามารถข้ามขั้นตอนการ cycle เปลี่ยนอุณหภูมิ และสามารถทำการเพิ่มจำนวนสารพันธุกรรมทั้งหมดได้ที่อุณหภูมิคงที่เพียงอุณหภูมิเดียว (isotherm)
เนื่องจากด้วยวิธีนี้เราสามารถทำ PCR ได้ที่อุณหภูมิที่คงที่เพียงอุณหภูมิเดียว ทำให้เราสามารถใช้เครื่องมือที่มีต้นทุนที่ถูกกว่า และแพร่หลายกว่าในการทดสอบได้ โดยเราสามารถใช้เครื่องมือปรกติที่หลายๆ โรงพยาบาลทั่วประเทศมีอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องส่งตัวอย่างมาตรวจที่ห้องทดลองที่มีเครื่องมือเฉพาะ
และด้วยวิธี LAMP นี้ เราสามารถเติมสารลงไปที่จะเกิดการตกตะกอนและเกิดสีเมื่อมีรหัสพันธุกรรมตรงกับรหัสของเชื้อ SARS-CoV-2 ที่เรากำลังหา ซึ่งการเกิดตะกอนนี้สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า และสามารถกำจัดการใช้เครื่องมือเพื่อยืนยันการเปล่งแสงไปได้อีก
นอกไปจากนี้ การตัดขั้นตอนการเปลี่ยนอุณหภูมิยังทำให้ทั้งค่าใช้จ่ายและเวลาที่ใช้ในการตรวจลดลง ผลที่ได้ก็คือการตรวจที่ทั้งถูก และเร็วกว่าวิธี RT-PCR ปรกติ
ซึ่งสำหรับวิธีนี้นั้น ในประเทศไทยก็มีทีมนักวิจัยที่กำลังทำการศึกษาวิจัยวิธีนี้อยู่ โดยได้ทำการทดสอบวิธี LAMP กับกลุ่มตัวอย่างควบคู่ไปกับการตรวจเชื้อในโรงพยาบาลโดยวิธีมาตรฐานมาตลอด และปัจจุบันอยู่ระหว่างการทดสอบกับหน่วยงานกลางเพื่อรอการรับรองให้สามารถนำมาใช้จริงในวงกว้างเพื่อเสริมการทำงานของการทดสอบแบบ RT-PCR ซึ่งจะทำให้สามารถตรวจเชื้อได้กว้างขึ้น ด้วยเวลาที่สั้นลง และค่าใช้จ่ายที่ถูกลง
*วิธีตรวจโดยใช้เทคโนโลยี CRISPR-Cas13*
อีกวิธีหนึ่งที่กำลังมีการวิจัยอยู่ ก็คือวิธีการตรวจสอบผ่านทางโปรตีนที่เรียกว่า CRISPR-Cas13 โปรตีนกลุ่ม CRISPR (อ่านว่า คริส-เปอร์) นี้เป็นโปรตีนที่พบในแบคทีเรีย ในธรรมชาตินั้นแบคทีเรียใช้โปรตีนเหล่านี้เป็นกลไกในการการจดจำรหัสพันธุกรรมของไวรัส และสู้กับไวรัสในธรรมชาติ
ในโปรตีน CRISPR นั้น จะมีส่วนของ guide RNA ซึ่งเมื่อใดก็ตามที่ guide RNA นั้นจับคู่เข้ากับรหัสพันธุกรรมที่ตรงกับที่ระบุเอาไว้ใน guide RNA โปรตีน CRISPR ก็จะทำงาน และจะทำหน้าที่คล้ายๆ กับกรรไกรเริ่มตัดสาย RNA ของไวรัสทิ้งเสีย ซึ่งการที่ CRISPR สามารถเอาส่วนของ RNA ไวรัสใหม่มาเป็น guide RNA และสามารถทำลาย RNA ของไวรัสได้นั้น เป็นกลไกหลักๆ ที่ทำให้แบคทีเรียสามารถตอบสนองและต่อสู้กับไวรัสชนิดใหม่ๆ ที่พบได้ในธรรมชาติ
ปัจจุบันเรามีงานวิจัยที่พยายามใช้ประโยชน์จาก CRISPR เป็นจำนวนมาก โดยเราสามารถใช้ CRISPR ในการหารหัสพันธุกรรมที่ต้องการ ทำการตัดรหัสพันธุกรรมเหล่านั้นทิ้งเสีย และเราสามารถออกแบบให้มันทดแทนรหัสพันธุกรรมที่ตัดทิ้งไปด้วยรหัสพันธุกรรมใหม่ที่เราใส่เข้าไป เราจึงสามารถใช้ CRISPR ในการตัดต่อพันธุกรรมได้ไม่ต่างอะไรกับฟังก์ชั่น Find and Replace บนคอมพิวเตอร์ และวิธี CRISPR นี้ก็เป็นวิธีเดียวกับที่นักวิจัยจากจีนได้ทำการตัดต่อพันธุกรรมทารกคู่แฝดที่ตัดต่อพันธุกรรมคู่แรกของโลก เพื่อให้มียีนที่ทนทานต่อเชื้อ HIV
โปรตีน CRISPR-Cas13 นั้นเป็นโปรตีนตัวหนึ่งในกลุ่มของ CRISPR แต่มีความพิเศษกว่าตรงที่ เมื่อมันจับเข้ากับ guide RNA แล้วนั้น มันจะทำการตัด RNA ทุกอย่างรอบตัว ไม่ว่า RNA นั้นจะเกี่ยวข้องกับรหัสที่มันกำลังหาอยู่หรือไม่ก็ตาม ซึ่งถึงแม้ว่าความไม่จำเพาะเจาะจงของ CRISPR-Cas13 นั้นจะไม่มีประโยชน์ในการนำไปตัดต่อพันธุกรรม แต่เราพบว่าเราสามารถนำมันมาใช้ได้ในการตรวจหาโรค
เนื่องจาก CRISPR-Cas13 นั้นจะไม่ทำงานจนกว่ามันจะพบกับ RNA ที่เข้าคู่ได้กับ guide RNA มันจึงมีความเจาะจงเฉพาะกับรหัสพันธุกรรมของไวรัสที่เรากำลังหาเพียงเท่านั้น และเนื่องจากเมื่อมันถูก activate แล้วนั้นการตัดของมันสามารถตัดสาย RNA อื่นได้ด้วย เราจึงสามารถออกแบบโมเลกุล reporter ที่ถูกเชื่อมเอาไว้โดย RNA สายสั้นๆ
เมื่อใดก็ตามที่ตัวอย่างของเรามีรหัสพันธุกรรมที่เข้าคู่กันได้กับ guide RNA ที่เราใส่ลงไปใน CRISPR-Cas13 โมเลกุล reporter ที่ปลายทั้งสองของ RNA สายสั้นๆ จะถูกแยกออก ซึ่งเราสามารถออกแบบแถบกระดาษที่ทำให้ reporter เหล่านี้ไปติดที่คนละตำแหน่งได้ ขึ้นอยู่กับว่ามันถูก CRISPR-Cas13 ตัดหรือยัง ซึ่งทำให้เราสามารถออกแบบเครื่องมือตรวจที่สามารถทำได้โดยการหยดสารพันธุกรรมลงไปบนแถบกระดาษ และขึ้นขีดขึ้นมาคนละตำแหน่งขึ้นอยู่กับว่ามีพันธุกรรมของไวรัสอยู่ในตัวอย่างแล้วหรือยัง
ซึ่งวิธีนี้นั้น นอกจากจะถูกกว่า และรวดเร็วกว่าวิธี RT-PCR มาตรฐานแล้ว ยังได้เปรียบตรงที่การอ่านผลนั้นทำได้โดยง่ายโดยการอ่านแถบสีบนกระดาษ ไม่ต่างอะไรกับที่ตรวจครรภ์ธรรมดา
ปัจจุบันสำหรับประเทศไทย ทีมนักวิจัยจาก VISTEC กำลังทำการวิจัยเครื่องมือตรวจหาโรคโควิด-19 ด้วยวิธี CRISPR-Cas13 นี้ โดยได้ทำการทดสอบกับตัวอย่างเชื้อจากผู้ติดเชื้อจริงแล้ว และกำลังอยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่รอการรับรองก่อนสามารถนำไปใช้จริง
*หมายเหตุ* สำหรับโพสต์นี้เป็นโพสต์ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างผม ทีมนักวิจัยจาก VISTEC ที่กำลังทำเครื่องมือทดสอบโดย CRISPR-Cas13 และอีกทีมนักวิจัยที่กำลังพัฒนาเครื่องมือทดสอบแบบ LAMP โดยไม่แสวงหากำไรและไม่ประสงค์จะออกนาม และขอขอบคุณภาพวาด โดยคุณตุลย์ กับ คุณจินดา จาก www.picturestalk.net ที่อาสาจะวาดภาพให้โดยไม่แสวงหาค่าตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้น
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6988269/
[2] https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.02.20030189v1?fbclid=IwAR2dckugSvn277FBWU_-RH8MvYvqOm0l9aji9qzx9FpxQMnd1mOIAG5hsmI
[3] https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.02.20030189v1?fbclid=IwAR2dckugSvn277FBWU_-RH8MvYvqOm0l9aji9qzx9FpxQMnd1mOIAG5hsmI
rna primer 在 賴叔閱事 Facebook 的最佳解答
恐慌嘅時候,更需要睇清楚啲。
肥人知道呢篇文真係寫得遲,本來我乜都唔想寫,依家見到個勢係全世界順水推舟圍堵中共就更加唔想寫,但係姣婆係好難守寡既,尤其是呢排成日俾班極度恐慌既人trigger… 我決定代肥控制員寫,因為我呢邊收視率高過佢。
好,開波!
--------------------
“We had better learn to doubt our inflated fears before they destroy us. Valid fear have their place; they cue us to danger. False and overdrawn fears only cause hardship. Even concerns about real dangers, when blown out of proportion, do demonstrable harm.” – Barry Glassner, American sociologist, author of The Culture of Fear.
網絡世界千奇百趣,好多網上既意見同評論,如果同傳媒製造既輿論結合(不論有心定無意),係會對社會有非常深切既影響。例如以前有政權會向群眾灌輸恐懼,挑起群眾之間既仇恨,或令群眾不知所措,進而控制群眾。呢種手法,不論以前納粹德國、現存或者已覆亡既共產國家、甚至自命民主自由既開放社會如美國都有出現。當政者及其黨羽,就係利用群眾既錯誤認知,以感性因素去扭曲大家既認知同決策能力,咁就可以達到佢地既政治目的啦。咩政治目的?好多種既,下至失敗政府要掩飾施政失誤,上至衝出國際統治全世界都有。
所以唔好話咁樣係「誇張」、「陰謀論」、同「乜都拉埋政治來講」呀,因為人類歷史就係充滿呢種叫 fearmongering既手段-用有目的地散播同誇大一樣不愉快既事情既手法,去引起大家既恐懼來控制群眾。現今世界,庸碌無能之輩當政比比皆是,唔識控制群眾既情緒,點樣遮掩政府既無能同做錯事既後果?不過肥人今次唔講法律,我學下一般既KOL咁「跨界別評論」先,所以呢篇文我講生物醫學,particularly 係將近來我係周遭聽聽埋埋既恐慌言論歸納一齊,逐點解釋。
--------------------
首先,等肥人我同大家重溫一下近來有關武漢肺炎既新聞標題:
信報報導「河南超長潛伏期病例疑94天確診」
HK01就話「逾5000疫廈元朗區最多 衛生署拒回應真偽」
Business Focus既報導就恐怖啦,話「肺炎突變新冠腦炎? 北京醫院首證病毒能侵襲中樞神經系統 感染肺炎併發腦炎北京醫院:患者意識曾陷入混亂」
CCTVB報導「私家醫生可收患者呼吸道樣本交政府陳肇始稱可及早減低傳播」
仲有零零星星報導例如:
「伊朗新冠肺炎疫情增至145死55歲國會議員不治」
「伊朗新型冠狀肺炎疫情失控,再有一位高級官員病逝。」
「【新冠肺炎・伊朗】數名官員先後染病身亡 23國會議員確診」
「新型冠狀病毒南韓確診個案累計增至逾7千宗死亡人數維持在44人。」
「【新冠肺炎.最新疫情】意大利確診個案逾萬 美國突破千宗」
上面堆報導實在睇到好多人好恐慌,尤其是本來對科學/病毒/醫療/疾病無咩認知既人,呢兩個月睇新聞就好似睇恐怖熱線咁。於是搞到好多心理質素差,表面受過教育既人墮入恐慌之中。
然後,我聽到身邊好多人竭斯底理咁驚叫:
「個肺花!個肺花!個肺花!個肺花呀!」
「呢個唔係流感呀!唔好再錯誤同流感比較啦!」
「潛伏期變長呀!無病徵既隱形病人都會傳染人架!」
(隔離果個choke到,咳兩聲)「我以後唔同你坐埋一齊呀!我唔想死呀!」
「如果唔係香港人衛生意識好,堅持戴口罩,香港一早淪陷啦!依家已經無新病例!你睇鬼佬幾污糟!又唔戴口罩,病又話唔使入醫院,返屋企休息,依家美國同意大利都爆發啦!」
「呢D廢老唔戴口罩,鬼唔望佢地中招死全家!政府應該強制人戴口罩!」
以上說話我全部聽過人講,最後一句我最撚火滾,你自己恐慌就好啦,咒人死仲要政府好 draconian 咁立法同執法?俾個民主自由既國會你仲可以普選,你都會選班人渣出來,然後大比數通過立法強制抽血抽組織,強制所有人有無問題都要戴口罩,仲可能要將人tag完再限制人出入自由。1984呀!
我日日做mon post狗睇網上既post,好多share出來又會令人恐懼既post,大部份都係有好多空間令人胡思亂想,如果你對科學尤其是 research methods, medical science, microbiology, virology等等唔認識的話,你鐵定會誤讀誤解再誤判… oh wait,睇返上面「利用群眾既錯誤認知,以感性因素去扭曲大家既認知同決策能力」,BINGO! 咁就搞掂你啦。為咩事要搞掂你?唔講啦,因為你會用陰毛論、陳雲信徒、唔好乜都政治化來駁我。
--------------------
依家太多post講呢個新型冠狀病毒,例如Facebook有個印度人既 Infographics on Covid-19,好詳盡,但咁又點呢?大家對病毒以致肺炎、流感、醫療系統等等都毫無認識,講到咁深入你地都會誤解或者一頭霧水。咁樣樣,好多人因為無足夠既basic knowledge,又先入為主咁因為自己既恐慌情緒相信左錯既資訊,要同佢地「解毒」,就好似同藍絲講咩叫法治一樣困難,真係太監洞房無撚用。
--------------------
好,依家開始【法網肥人講病毒】!
1. 眾所鳩知,武漢肺炎係由新型既冠狀病毒 Covid-19引起。Covid-19係冠狀病毒科 Coronaviridae裡面其中一種,佢係屬於 positive-sense, singled stranded RNA virus (正鏈單股核醣核酸病毒) 。RNA病毒有好高突變率,因為病毒既RNA polymerases缺乏 DNA polymerase 既proofreading能力,所以佢地好難有 nearly identical既 sequence。仲有一點好重要,病毒同病菌唔同,病毒係需要靠 host cell (宿主細胞)先可以生存,離開 host cell 佢地不能複製,不能運作,只有死路一條。所以一開始就話新病毒同SARS個sequence有幾多幾多 percent 相似,我即刻叮左一下,然後好多人傳話新病毒點點點可以生存好耐,我更加叮多兩下…. 邊個放呢D料出來既?
2. 另外,呢隻病毒並非 retrovirus (逆轉錄病毒, class VI single-stranded RNA-Reverse Transcriptase),唔會將自己既RNA用 reverse transcriptase (逆轉錄酶)塞入host cell既基因裡面,然後適時復發。咩係retrovirus呢? 例如會引起 T Cell Leukemia 既 Human T-cell lymphotropic virus type 1 (HTLV-1),或者引起愛滋病既 Human Immunodeficiency Virus (HIV)。呢個病毒,亦唔係好似肝病毒科乙型肝炎咁,唔係 retrovirus 但會有reverse transcriptase去將 viral genome incorporate 入host cell,所以就算不幸中左,都唔會話咩病者會成世帶住個病。所以我每一次聽到人講「就算中左都一世帶病呀」就會好抆,冠狀病毒變愛滋,黐L線!
3. 冠狀病毒既結構好簡單:一個 viral envelope,外面有protein spike,裡面有RNA,that’s it。佢地個replication mechanism (複製機制) 就係病毒接觸host cell後進入 host cell,然後係host cell個細胞核nucleus裡面複製。複製完之後就由host cell cytoplasm (細胞質)裡面製造既 necleocapsid (核蛋白衣) 加埋細胞核既 endoplasmic reticulum (內質網) 既phospholipid membrane (磷脂層)包住病毒RNA,經由host cell 既Golgi apparatus (高氏體)帶出host cell 繼續傳染人。呢個複製過程,當然會破壞甚至殺死 host cell啦。咁知道呢點有咩用?Phospholipid membrane係lipid bilayer (脂質雙分子層),lipid bilayer係怕番梘soap既!咁勤D用番梘洗手就得啦,使撚用甲醇咩屌你,你嫌命長?
4. 有人話:「咁基因突變都得架嘛!個病毒咪做到所有野囉!」喔,係咩?如果咁簡單,呢個世界既大學就唔需要有生物系,而且達爾文應該無人理。首先,病毒點解會有基因變異?簡單講就係 replication 之中,有polymerases 抄錯條 sequence,例如本來係 ATCG 既,抄成 ATTG,跟住無 proofread 就掉出去。又有一種變異,就好似屬於Orthomyxoviridae 既influenza A virus咁,裡面有八條 RNA segments,可以係 replication既時候洗牌。呢種 replication 既錯誤或者洗牌,積埋積埋,小則變成 genetic drift/antigenic drift,大則變成 genetic shift/antigenic shift。前者可能將某一個半個 surface protein 結構變左少少,整體來講人體免疫系統仲認得出,變異後既病毒殺傷力有限。後者可能將原有病毒變成新既 subtype,大部份人既免疫系統都認唔出而死傷無數。假設,新既冠狀病毒係由舊有冠狀病毒(包括 SARS)天然 antigenic shift 變出來既,咁點可能係短短兩三個月再次 antigenic shift 呢?如果基因突變去到呢個地步,肯定顛覆生物學界既認知。但好多本來就無讀過生物既人會唔認同,佢地會搏命咁話基因變異點能夠預測!肥人話你知,唔係預測,而係不符合現實同暫時無人能夠推翻既理論。如果新病毒可以係短時間內變成 retrovirus,可以無任何條件下生存好耐,隨意改變 latent period潛伏期,隨意改變傳染力同殺傷力的話,科學家應該點 classify 佢呢?簡單講,長頸鹿頸長先叫做長頸鹿,如果長頸鹿變成 Mike Tyson 條頸咁短,咁我地應該叫佢做 Mike Tyson 定長頸鹿?如果新冠狀病毒有 HTLV-1既retrovirus能力,有hepatitis B 既 reverse transcriptase,有 flu A 可以 shuffle RNA 既能力,又有 HIV 既超長 latent period,你會叫佢做 coronavirus 定 super virus?
5. 講基因變異,要一個變異既病毒基因可以流傳,病毒本身必須要不斷繁衍,宿主傳宿主咁一代傳一代,病毒先可以續存。呢個就係進化論,survival of the fittest。古代有好多生物不能續存,就係因為被環境淘汰,例如有理論認為三葉蟲因為蛻變機制 (instar and molting) 有問題,結果難以生存,最後被大自然淘汰。如果病毒勁到咩人都可以一野就殺死佢的話,佢點傳播?宿主死左,無人帶佢地去傳染其他人嘛!病毒唔係病菌,可以係環境種生存好耐,病毒只要離開宿主好快就會死,就算有飛沫帶住,我地環境中既太陽紫外光、oxidizing agents、濕度與氣溫等等會令佢地好快收皮。病毒唔係倪匡衛斯理《藍血人》裡面隻「獲殼依毒間」,可以變成游離電波周圍飄。大家明白進化論,就會明白病毒學101既常識,從而 debunk 左一個不斷流傳既流言:「隻病毒好勁,好多人死架,傳播得又快!」傳播得快,不等如勁,而太勁既病毒,難以傳播。係呢度,傳播得快,同隻病毒之間並無關係。病毒殺傷力勁,傳播範圍就會窄,傳播速度都會慢;病毒殺傷力一般如普通流感的話,傳播範圍先會闊,傳播速度先會快。如果新聞瘋狂報導好多人死就等如勁,咁非洲同中東都有好多基督徒男女老幼被人大規模屠殺,你會唔會覺得信耶穌係死路一條?
6. 又有人話:「呢隻病毒唔同流感呀!唔好再同流感比啦!呢隻病毒會死人架!呢隻病毒無藥醫架!」首先,除左冠狀病毒同流感病毒,仲有 Respiratory Synctical Virus (人類呼吸道合胞病毒) 同 Rhinovirus (鼻病毒) 都會引起呼吸道感染疾病,隻隻都係病毒,病毒一向未必有有效既藥物醫治,隻隻都會死人。你地以為流感有得醫?用 Tamiflu 都未必得架,而且有可能有嚴重副作用。咁冠狀病毒同流感病毒有咩唔同? 有人話death rate高,無vaccine,latent period又長又短,病人無病徵,但呢堆因素唔係用來分別病毒勁唔勁囉。Death rate 高低由咩決定,點計?Vaccine有咩用,target 咩?latent period 點解會長短不一?有無病徵同嚴重性有咩關係,係咪好似異形咁,你怕有人無病徵但會 sudden death?你地睇得太多 WhatsApp D人無啦啦訓低既片段啦,你又知人地係武漢肺炎死?New England Journal of Medicine 有篇叫 First Case of 2019 Novel Coronavirus in the United States既文,提到美國華盛頓州有個病人1月19日入廠,20日確診,一直都係 supportive care,直到染病第11日,即係入廠第7日,醫生先用 IV 俾 remdesivir (瑞德西韋),然後佢就退燒,其他症狀都消失或者減輕。咁又點解會係無得醫?大家記住remdesivir (瑞德西韋),遲下會再講。
7. 仲有,我最憎既「個肺花!個肺花!個肺花!個肺花呀!」呢句,我想同講呢句既人講,肺花,係因為照 X-ray 既時候個肺有 consolidation/infiltration,呢個問題唔單止係肺炎,肺癆甚至cancer都會肺花。你怕咩肺花?流感去到嚴重的話,都可能肺花,因為你有 pulmonary consolidation or infiltration。肺花係因為你個肺 filled with liquid, exudate, pus 甚至 blood from hemorrhage。理性少少,冷靜D,肺花講一次就得,repeat 幾次無幫助。
8. 孤勿論點,呢隻病毒都只係一隻呼吸道感染既病毒,一隻真病毒,一隻同流感一樣會令人病,亦會令人死既病毒,只係流感令人鼻塞,但一樣有機會令人肺炎。呢個新病毒佢所有既威力都係傳媒、WhatsApp片段、社交媒體既報導俾佢,就好似有D 人,你聽佢大名如雷灌耳,一見到真人原來係柒碌又無料到一樣(我懷疑我自己都係咁)。其實有無人真正去了解上面我所講既野?無人話你聽你可以當呢隻病毒無到,話之佢死,但係一開始就進入恐慌狀態,咁你係咪俾人耍緊呢?
--------------------
講完上面既病毒既基本知識,不如講多少少基本病毒檢測既知識。好,依家開始【法網肥人化身肥控制員】!
外面成日有人話:「哎呀,個病人21日後先確診呀!」「哎呀,佢隻狗弱陽性呀!」「哎呀,本來係陰性依家係陽性呀!」「哎呀,南韓同意大利爆發,突然好多人確診呀!」Now TV 更報導「鑽石公主號在日確診香港人 康復回港後再檢測呈陽性」
究竟,呢堆確診數字信唔信得過?我意思唔係話邊個國家信唔信得過,而係呢個 test method 同個 protocol 信唔信得過,會唔會有 uncertainty 或者error? 一開始,我地可以睇下 Journal of the American Medical Association 3月9日既文章,Diagnostic Testing for the Novel Coronavirus,裡面有講到 false positive/false negative 既問題,仲有病毒測試既regulation,測試既 guideline等等。文中有提到,開初發展出來既病毒測試有 false negative,顯示出呢個測試既設計應該係有問題。另外,FDA,CDC與美國各州政府之間都有分歧,州政府當然想為居民檢驗啦,但因為個測試係新開發,有大量問題同 uncertainy,所以FDA “made clear that laboratories were encouraged to develop tests but could not use them for clinical diagnosis without FDA’s “approval, clearance, or authorization during an emergency declaration.” 咁 what does that means? 如果你讀 law 的話,我expect你可以 read between the lines。
講返個測試,檢驗新病毒一般都係會用 RT-PCR (Reverse transcriptase-polymerase chain reaction 逆轉錄聚合酶鏈式反應)。好多人,包括肥人好多行家與同事甚至客仔,一聽到咩DNA測試,就以為呢個 test 無L敵啦,一定準確啦。Oh Sorry,no! 撇除所有「中國的會爆炸」同「中國有咩係真」呢兩個因素,一個test既結果是否可信係建基於樣本收集同檢驗方法,無論你係美國,意大利,南韓,日本定中國,樣本收集同檢驗方法先係 main point!
檢驗呼吸道感染疾病,你地話收集咩樣本好呀?Saliva? Sputum? Nasopharyngeal aspirate (NPA)? Bronchial lavage? 如果係上呼吸道病毒,咁 NPA都足夠既,sputum 都可以,但saliva 就應該要reject。但有時呢類既樣本都未必有足夠既病毒樣本去驗,病毒深入氣管去到肺氣泡(alveoli),樣本可能要係bronchial lavage先夠做。仲有,收集樣本既手法,部位,儲存方式,收集時間與檢驗時間既差距,樣樣都會影響結果。支棉花棒「了」得唔好,你或者都會無 result。
好啦,到講 RT-PCR啦。RT-PCR係需要 medical scientist 去砌一段 primer 出來開始做test。為左檢驗結果既可靠性,scientist通常會係新病毒入面抽一段比較穩定既 RNA segment 出來做 primer。可惜,有好多情況下,RT-PCR會俾個錯既答案你。
第一,primer 既設計好影響結果,上面都話段 primer 要係抽病毒一段比較穩定既 RNA segment 出來做,咁如果你抽錯左呢?第二,樣本既 DNA/RNA sequence 既integrity好差,甩頭甩骨咁,結果就會受影響。即係上面所講既樣本收集出現問題呀!第三,樣本純度低,或者份量少,又即係上面所講既樣本收集出現問題呀!咁個 tech 或者 scientist 要係咁加 PCR cycle去 amplify 個 sample,咁 amplify 出來既樣本就有好大機會係 false positive,呢點會影響所謂確診既可信度,亦係咁肥人我見到漁護處話瑞士花園個阿婆患者隻狗呈現弱陽性反應,我當下笑 L97 左出來。大佬呀,你是咪無足夠 sample 就鳩 amplify,然後個 result 根本有問題你都聽長官意志,鳩簽個名話係弱陽性呀?陽就陽,陰就陰。Result 唔 significant 或者 inconclusive,你出咩報告jack? Invalid 啦!仲有呀,病毒係 host specific 架,會傳染人既病毒,又點會無啦啦傳染狗? 眾所鳩知冠狀病毒係靠人類細胞上既 ACE2 (Angiotensin-converting enzyme 2,血管收縮素轉化酶2)來進入人體細胞啦,狗 ACE2既同人既一樣?
寫下寫下,喂,原來未寫數據演繹同政策問題,太長啦,下次再續!
#跨界別吹水
#本來要免於恐懼唔跟隨共匪起舞
#依家又俾共匪睇穿你班人既心理
#個勢變啦全世界同共匪切割了
rna primer 在 Pumpkin Jenn Youtube 的最佳貼文
?Please like this video if you enjoyed it :)
?Facebook Page: https://www.facebook.com/PumpkinJenn
?Instagram: http://instagram.com/pumpkinjenn
Products Mentioned:
vichy ideal white sleeping mask*
sk ii facial treatment essence
vichy ideal white serum*
sk ii rna power radical new age cream
skii cellumination day surge uv
kose sekkisei supreme makeup base spf 25/pa++
ysl touche eclat concealer 3.5
dior diorsnow bloom perfect cushion
bare minerals veil finishing powder
shu uemura brow sword acorn and walnut brown
maybelline clear mascara
urban decay primer potion
love liner liquid eyeliner dark brown
bourjois blush rose d'or
fresh sugar lip treatment ruby
Romper:
Brandy Melville
Sandals:
Steve Madden
Bag:
Longchamp
Music
Cody Simpson - All Day
little talks of monsters and men
i like the sound of that rascal flatts
想購買美容產品又唔知邊到有得買?利用全港最具規模的美容產品搜尋器 http://www.hkbeautybible.com , 無論你想尋找那個國家或種類的美容產品,只要輸入品牌名稱、產品類型、地區等關鍵字,立即為你找出全港售賣該產品的店舖。大家亦可以下載 BeautyBible 手機程式 :)
The Attic
My hair stylist : Alex So 2117 0303
RM1001, 10F, PACIFIC HOUSE, 20 QUEEN'S ROAD CENTRAL,HK
ATTENTION COMPANIES:
If you are a company interested in working with me or wanting me to review a product
feel free to email, thank you :)
jennheartsjuicy@gmail.com
[email protected]
***
Disclaimer: ♥ This video is sponsored by Vichy ♥
I only work with brands, products that i like. If I do not like a product, , it will not be featured in any of my videos.
rna primer 在 DNA REPLICATION: RNA PRIMERS - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>