【#小端網絡觀察:真人版《花木蘭》今日於台灣上映,主演「撐港警」立場引台灣網民 #抵制木蘭】
美籍華裔女星 #劉亦菲 主演的迪士尼真人電影《花木蘭》今日在台灣院線上映,有台灣網民延續先前的抵制運動,以「抵制木蘭」(#BoycottMulan)的標籤在社交網絡推播。在推特等平台上,亦可見諸多香港、泰國網民發文抵制,並配上「奶茶聯盟」(#MilkTeaAlliance)的標籤。
/
📍主演劉亦菲先前表態支持香港警察,引輿論抨擊
2019年8月,《環球時報》記者付國豪在香港機場被反修例運動示威者扣押,並對示威者說「我支持香港警察,你們可以打我了。」事件在陸港兩地引發熱議,《人民日報》隨後將該宣言作為微博配圖置頂,主演「花木蘭」的女星劉亦菲與眾多中國藝人一同轉發微博,並帶上話題「#我也支持香港警察」。
劉亦菲當時的貼文,另以英文寫上「這是香港的恥辱」(What a shame for Hong Kong),引起輿論譁然。諸多香港網民認為,劉亦菲持有美國國籍,享有言論自由、人身保障,卻支持港警暴力鎮壓追求民主自由的反修例示威者,令人失望且與「花木蘭」形象不符,遂發起「抵制木蘭」網絡運動。
但不僅香港、台灣輿論出現反對聲浪,諸國歐美網民也加入抵制,得到CNN等國際傳媒的報道與關注。電影今日於台灣上映,讓抵制運動熱度再起;據Google Search Trend數據,「劉亦菲 香港」在台灣地區的檢索次數增加了130%。
迪士尼影業日前在臉書發文指,「倒數三天,迪士尼真人版《花木蘭》正式登場」。
有網民留言表示「在台灣這樣自由民主重人權的國家上映,真是有夠侮辱人」、「電影開播前會先播港警撞倒孕婦的片段嗎?8/31熱騰騰的~真期待」、「撐黑警女主角,絕對不看,勿忘香港」、「迪士尼一向追求什麼愛、和平、平等,在人民幣面前,只變了一隻聽不到大眾評擊的怪獸」;同時,亦有網民表示「支持導演才華洋溢。支持花木蘭。拒絕被政治污染藝術。拒絕網絡霸凌。尊重不同聲音」、「請評論區停止宣揚暴力 #SupportMulan」
而在推特,則有香港、泰國等網民表示「作為迪士尼粉絲,這次我非常地失望。你們怎麼可以拔擢一個支持國家暴力的女人?你們可以採取任何行動,但你們沒有。所以,就讓社會制裁開始吧!」、「劉亦菲支持 #HongKongPoliceBrutality(香港警暴),周庭才是真正的花木蘭」、「泰國民運領袖Netiwit與香港站在一起『抵制木蘭』,有越來越多跡象顯示『奶茶聯盟』有跨國界、影響真實世界的影響力」、「『抵制木蘭』以讓迪士尼知道,迎合中共並不值得。」
/
📍日前韓國也發起杯葛運動;劉亦菲稱自己為「亞裔」則遭中國網民批評
今年七月初,韓國學生及青年團體舉辦記者會,表態支持香港民主抗爭,並呼籲抵制《花木蘭》。集會現場除了有「抵制木蘭」的標語,亦有連儂牆等設置,參與者會後向迪士尼遞交抗議書。
記者會提出三點訴求:要求作為選角方的迪士尼向香港市民道歉;要求華特迪士尼韓國總部停止進口和在國內發行《花木蘭》電影;呼籲韓國國內電影院拒絕上映《花木蘭》。日前,韓國《花木蘭》宣布因應2019冠狀病毒疫情,將上映日期延至9月17日。
而在今年三月,《花木蘭》於美國洛杉磯舉辦全球首映會,劉亦菲接受採訪時稱自己為「亞裔」,引起中國網民不滿。有網民稱劉亦菲「數典忘祖」,質疑她「為什麼不說華裔?為什麼不說中國人?華裔/中國人的身份在你心中那麼丟人?」;亦有媒體及自媒體帳號發佈題為「劉亦菲亞裔遭非議,念著效忠美國誓詞賺著中國錢,華裔委屈你了?」、「劉亦菲自稱『亞裔』,連自己是華裔都不敢說!真的是美國公主!」
事件當時在中國網絡上引發抵制浪潮,但今時爬梳微博等中國社交平台,未見太多延續的討論及抨擊,多數網民著重劇情、配音、歌舞等電影內容。端傳媒日前曾於 #端圓桌 欄目發起《花木蘭》的話題,並整理其他《花木蘭》引起的爭議:https://bit.ly/2QSyg1b
#延伸閱讀
為迎合中國市場,迪士尼真人版《花木蘭》有多拼?
https://bit.ly/2Z8R0OC
圖源:https://seagog.tumblr.com/…/im-going-to-take-a-moment-to-de…
😽 用你選擇的媒體,決定你看見的世界 #加入會員:http://bit.ly/2wVfM6g
😽 小端也有玩推特,歡迎關注我們:@initiumnews
#端傳媒 #花木蘭 #迪士尼 #反修例運動
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「supportmulan」的推薦目錄:
- 關於supportmulan 在 台灣主權和平獨立 Facebook 的最讚貼文
- 關於supportmulan 在 肯腦濕的人生相談室 Facebook 的最佳貼文
- 關於supportmulan 在 Roundfinger Facebook 的最佳解答
- 關於supportmulan 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
- 關於supportmulan 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於supportmulan 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
- 關於supportmulan 在 #supportmulan - Explore | Facebook 的評價
- 關於supportmulan 在 #supportmulan - YouTube 的評價
- 關於supportmulan 在 ppicc shared a post on Instagram: “#Mulan #liuyifei # ... 的評價
- 關於supportmulan 在 China Uses Disney's 'Mulan' to Attack Hong Kong Protests 的評價
supportmulan 在 肯腦濕的人生相談室 Facebook 的最佳貼文
【#小端網絡觀察:真人版《花木蘭》今日於台灣上映,主演「撐港警」立場引台灣網民 #抵制木蘭】
美籍華裔女星 #劉亦菲 主演的迪士尼真人電影《花木蘭》今日在台灣院線上映,有台灣網民延續先前的抵制運動,以「抵制木蘭」(#BoycottMulan)的標籤在社交網絡推播。在推特等平台上,亦可見諸多香港、泰國網民發文抵制,並配上「奶茶聯盟」(#MilkTeaAlliance)的標籤。
/
📍主演劉亦菲先前表態支持香港警察,引輿論抨擊
2019年8月,《環球時報》記者付國豪在香港機場被反修例運動示威者扣押,並對示威者說「我支持香港警察,你們可以打我了。」事件在陸港兩地引發熱議,《人民日報》隨後將該宣言作為微博配圖置頂,主演「花木蘭」的女星劉亦菲與眾多中國藝人一同轉發微博,並帶上話題「#我也支持香港警察」。
劉亦菲當時的貼文,另以英文寫上「這是香港的恥辱」(What a shame for Hong Kong),引起輿論譁然。諸多香港網民認為,劉亦菲持有美國國籍,享有言論自由、人身保障,卻支持港警暴力鎮壓追求民主自由的反修例示威者,令人失望且與「花木蘭」形象不符,遂發起「抵制木蘭」網絡運動。
但不僅香港、台灣輿論出現反對聲浪,諸國歐美網民也加入抵制,得到CNN等國際傳媒的報道與關注。電影今日於台灣上映,讓抵制運動熱度再起;據Google Search Trend數據,「劉亦菲 香港」在台灣地區的檢索次數增加了130%。
迪士尼影業日前在臉書發文指,「倒數三天,迪士尼真人版《花木蘭》正式登場」。
有網民留言表示「在台灣這樣自由民主重人權的國家上映,真是有夠侮辱人」、「電影開播前會先播港警撞倒孕婦的片段嗎?8/31熱騰騰的~真期待」、「撐黑警女主角,絕對不看,勿忘香港」、「迪士尼一向追求什麼愛、和平、平等,在人民幣面前,只變了一隻聽不到大眾評擊的怪獸」;同時,亦有網民表示「支持導演才華洋溢。支持花木蘭。拒絕被政治污染藝術。拒絕網絡霸凌。尊重不同聲音」、「請評論區停止宣揚暴力 #SupportMulan」
而在推特,則有香港、泰國等網民表示「作為迪士尼粉絲,這次我非常地失望。你們怎麼可以拔擢一個支持國家暴力的女人?你們可以採取任何行動,但你們沒有。所以,就讓社會制裁開始吧!」、「劉亦菲支持 #HongKongPoliceBrutality(香港警暴),周庭才是真正的花木蘭」、「泰國民運領袖Netiwit與香港站在一起『抵制木蘭』,有越來越多跡象顯示『奶茶聯盟』有跨國界、影響真實世界的影響力」、「『抵制木蘭』以讓迪士尼知道,迎合中共並不值得。」
/
📍日前韓國也發起杯葛運動;劉亦菲稱自己為「亞裔」則遭中國網民批評
今年七月初,韓國學生及青年團體舉辦記者會,表態支持香港民主抗爭,並呼籲抵制《花木蘭》。集會現場除了有「抵制木蘭」的標語,亦有連儂牆等設置,參與者會後向迪士尼遞交抗議書。
記者會提出三點訴求:要求作為選角方的迪士尼向香港市民道歉;要求華特迪士尼韓國總部停止進口和在國內發行《花木蘭》電影;呼籲韓國國內電影院拒絕上映《花木蘭》。日前,韓國《花木蘭》宣布因應2019冠狀病毒疫情,將上映日期延至9月17日。
而在今年三月,《花木蘭》於美國洛杉磯舉辦全球首映會,劉亦菲接受採訪時稱自己為「亞裔」,引起中國網民不滿。有網民稱劉亦菲「數典忘祖」,質疑她「為什麼不說華裔?為什麼不說中國人?華裔/中國人的身份在你心中那麼丟人?」;亦有媒體及自媒體帳號發佈題為「劉亦菲亞裔遭非議,念著效忠美國誓詞賺著中國錢,華裔委屈你了?」、「劉亦菲自稱『亞裔』,連自己是華裔都不敢說!真的是美國公主!」
事件當時在中國網絡上引發抵制浪潮,但今時爬梳微博等中國社交平台,未見太多延續的討論及抨擊,多數網民著重劇情、配音、歌舞等電影內容。端傳媒日前曾於 #端圓桌 欄目發起《花木蘭》的話題,並整理其他《花木蘭》引起的爭議:https://bit.ly/2QSyg1b
#延伸閱讀
為迎合中國市場,迪士尼真人版《花木蘭》有多拼?
https://bit.ly/2Z8R0OC
圖源:https://seagog.tumblr.com/…/im-going-to-take-a-moment-to-de…
😽 用你選擇的媒體,決定你看見的世界 #加入會員:http://bit.ly/2wVfM6g
😽 小端也有玩推特,歡迎關注我們:@initiumnews
#端傳媒 #花木蘭 #迪士尼 #反修例運動
supportmulan 在 Roundfinger Facebook 的最佳解答
1
ก่อนมาถึงกระแส #BoycottMulan หรือ #SupportMulan ที่กำลังโขมงโฉงเฉงกันอยู่ อันที่จริงแล้วหญิงสาวจากตำนานพื้นบ้านตั้งแต่ราชวงศ์เว่ยเมื่อประมาณ 1,500 ปีก่อนมีเส้นทางชีวิตยาวไกล และทุกครั้งที่เรื่องของเธอถูกเล่าก็มักเจือเรื่องราวสังคมการเมืองของยุคสมัยนั้นเข้าไปด้วยเสมอ
2
Ballad of Mulan ซึ่งมีตัวหนังสือแค่ 300 คำ เล่าเรื่องเด็กหญิงแต่งชายไปร่วมทัพแทนพ่อและน้องชายซึ่งยังเด็กอยู่ หลังรบจนได้รับชัยชนะ มู่หลานได้พระราชทานตำแหน่งในกองทัพ ซึ่งเธอปฏิเสธและขอเดินทางกลับบ้าน ครอบครัวเตรียมอาหารต้อนรับเธอกลับสู่บ้าน มู่หลานเปลี่ยนเสื้อผ้า ทรงผม แต่งหน้า เตรียมต้อนรับเพื่อนทหารร่วมรบซึ่งช็อกเมื่อรู้ว่าเธอเป็นหญิง ทั้งที่ร่วมรบกันมานานปีแต่ไม่เอะใจเลยว่าทหารหาญผู้นี้จะเป็นหญิงสาว
3
นักวิเคราะห์สะกิดให้คิดว่า เรื่องราวดั้งเดิมนั้นไม่มีกลิ่นของชาตินิยมเหมือนเรื่องในช่วงหลัง กระทั่งให้ความสำคัญกับบทบาทผู้หญิงในครอบครัวมากกว่ารัฐด้วยซ้ำ แถมยังอาจใช้เรื่องเล่านี้วิจารณ์รัฐที่ให้ประชาชนตัวเล็กๆ รับภาระใหญ่เกินไป ทำนองว่า "มู่หลานเอาชีวิตเข้าเสี่ยงเพื่อครอบครัวตามนโยบายไร้เหตุผลของรัฐ" ซึ่งน่าสนใจหากลองคิดว่า ในยุคโบราณหมู่บ้านเล็กๆ จะมีความรู้สึกเชื่อมโยงกับอาณาจักรมากเท่าวันนี้หรือไม่
4
ปี 1593 ช่วงราชวงศ์หมิง “Ci Mulan” เรื่องราวเปลี่ยนแปลงตอนจบเล็กน้อย พอรบเสร็จมู่หลานได้รางวัลเป็นการแต่งงานกับจอหงวนสูงศักดิ์ ซึ่งเธอตอบรับอย่างเต็มใจ
5
ศตวรรษที่ 16 มีละครเรื่อง "Female Mulan Joins the Army Taking Her Father’s Place" มู่หลานเหมือนหญิงสาวจีนทั่วไปในยุคนั้นคือต้องมัดเท้าจนเล็กเหมือนดอกบัว มีฉากดราม่าตอนที่เธอต้องแก้มัดเมื่อยัดเท้าลงไปในรองเท้าของผู้ชาย เมื่อรบเสร็จเธอก็กลับมาเป็นผู้หญิงที่มัดเท้าตามเดิม จบด้วยการแต่งงานกับผู้ชายที่พ่อแม่เลือกให้ กลับมาเป็น 'หญิงสาวที่ดี' ตามแบบฉบับประเพณีจีนในช่วงนั้น
6
ปี 1675 ในนวนิยาย "Historical Romance of the Sui and Tan Dynasties" มู่หลานฆ่าตัวตายเมื่อได้รับคำสั่งให้เป็นนางสนมของจักรพรรดิ เป็นการยอมตายเพื่อรักษาพรหมจรรย์ ซึ่งเป็นคุณค่าในอุดมคติของสตรีจีนในช่วงราชวงศ์ชิงที่ต้องให้ความสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด
7
กระทั่งในช่วงเวลาแห่งความอลหม่านของจีน หรือที่เรียกกันว่า "ศตวรรษแห่งความอัปยศ" ซึ่งจีนทำสงครามฝิ่นกับอังกฤษ ถูกยึดฮ่องกง ญี่ปุ่นบุก มู่หลานจึงค่อยๆ ปรับเปลี่ยนคาแรกเตอร์ให้กลายเป็น 'นักสู้' และ 'วีรสตรีของชาติ' ซึ่งลุกขึ้นสู้กับ 'ผู้บุกรุกป่าเถื่อน' มากขึ้นเรื่อยๆ เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ของความเท่าเทียมทางเพศในมุมของพรรคคอมมิวนิสต์ เป็นตัวอย่างของผู้หญิงที่ลุกขึ้นสู้และรบได้เฉกเช่นบุรุษ
8
ปี 1939 มีหนังเรื่อง “Mulan Joins the Army" มู่หลานไม่สับสนอีกต่อไปกับการเลือกระหว่างครอบครัวกับประเทศ เธอขอยืมชุดรบจากพ่อ กินมื้อค่ำแล้วฟังพ่อติวเรื่องสงคราม รวมถึงคุณค่าของการปกป้องชาติ เธอไหว้บรรพบุรุษเพื่อศิริมงคลแล้วขี่ม้าออกร่วมรบ ฉากเหล่านี้สะท้อนให้เห็นการหลอมรวมภารกิจครอบครัวกับภารกิจชาติเข้าด้วยกันเป็นเนื้อเดียว
9
ปี 1956 มีโอเปร่าที่มู่หลานรับบทบาทเป็นผู้นำการต่อต้านจักรวรรดินิยมอเมริกัน และเชิดชูอุดมการณ์สังคมนิยมของพรรคคอมมิวนิสต์ ในยุคเหมา ผู้หญิงจีนถูกเรียกร้องให้ทำงานทุ่มเทเพื่อชาติไม่ต่างจากผู้ชาย
10
กระทั่งดิสนีย์นำมู่หลานมาทำเป็นภาพยนตร์แอนิเมชั่น และเป็นภาพยนตร์คนแสดงในเรื่องล่าสุด ซึ่งอยู่ในโลกที่เต็มไปด้วยประเด็นทางสังคม การเมือง วัฒนธรรมที่หลากหลายยิ่งกว่าเรื่องเล่าในประเทศจีนเหมือนแต่ก่อน จึงไม่แปลกที่ผู้ชมสามารถสวมแว่นมองมู่หลานได้ในหลายมิติ ทั้งทางการเมือง ความเป็นจีน ความเป็นอเมริกัน รวมถึงการเมืองนอกหนังอย่างทัศนะของผู้แสดง ไปจนถึงประเด็นสตรีนิยมซึ่งสลับซับซ้อน จะว่าไปในหนังเรื่องล่าสุดก็มีอะไรให้คิดมากมายเต็มไปหมด
11
มู่หลานแต่ละยุคแต่ละสมัยจึงเปลี่ยนไปตามสิ่งที่ผู้เล่าเรื่องต้องการจะฝากเธอส่งสารไปยังผู้ชมผู้ฟัง น่าติดตามอย่างยิ่งว่าอีก 10 ปี มู่หลานจะเปลี่ยนไปเป็นแบบไหนและสื่อสารประเด็นอะไร สิ่งแวดล้อม ผู้สูงวัย AI หรือผู้บุกรุกจากต่างดาว?
12
(สปอยล์) ดูมู่หลานแบบวิเคราะห์โครงสร้างความคิดและสังคมก็ทำได้ หรือจะดูด้วยแว่นที่อินไปกับมนุษย์คนหนึ่งก็ทำได้เช่นกัน, เมื่อวานตอนนั่งดู จู่ๆ ผมก็น้ำตาไหลออกมาในฉากที่มู่หลานลุกขึ้นอีกครั้ง หลังจากฮัวจุนตายไป ตอนเห็นฮัวมู่หลานควบม้า สะบัดผม แล้วฉายความเป็นหญิงออกมาอย่างทรงพลัง - พลังจากความเป็นตัวของตัวเอง
13
ผมจึงเห็นด้วยกับบางบทวิเคราะห์ที่บอกว่า สิ่งที่ทำให้มู่หลานชนะใจผู้คนมายาวนานกว่า 1,500 ปีนั้นไม่ใช่เพราะเธอเป็นผู้หญิงที่ทำเพื่อชาติ เพื่อครอบครัว หรือรบชนะ แต่เป็นเพราะเธอเป็นคนที่ 'ได้ตัดสินใจเอง' ข้ามกำแพงของสิ่งที่คนอื่นบอกว่า 'ต้องเป็น' และในห้วงยามที่เราได้ตัดสินใจเอง ได้เป็นตัวเองอย่างที่เราคิดเราเชื่อ เราจะมีพลังมากที่สุด
14
ส่วนถ้าจะถามว่ามู่หลานมีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์หรือเปล่า คำตอบจากนักวิชาการสั้นๆ คือ "ไม่" เพราะไม่มีหลักฐานใดๆ พูดถึงมู่หลาน แต่กระนั้น เรื่องราวในตำนานซับซ้อนเกินจะตัดสินเด็ดขาด เพราะเรื่องเล่าและตำนานพื้นบ้านมักได้แรงบันดาลใจจากเรื่องจริง จึงเป็นไปได้ว่า อาจไม่มี 'ฮัวมู่หลาน' แต่อาจมีใครสักคนที่มีเรื่องราวคล้ายกันนี้อยู่จริง
ใครสักคนที่เลือกชีวิตตัวเองอย่างกล้าหาญ
มู่หลานทำงานกับหัวใจคนดู เพราะเราก็ต้องการเป็นเช่นนั้น
#นิ้วกลม
#Roundfinger
---
ข้อมูลประกอบการเขียน
https://www.historyextra.com/period/ancient-history/real-history-mulan-who-what-looked-like-chinese-legend-disney-culture/
https://thediplomat.com/2020/09/who-is-the-real-mulan/
supportmulan 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最讚貼文
supportmulan 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
supportmulan 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
supportmulan 在 #supportmulan - YouTube 的推薦與評價
It's Time To #SupportMulan | Official Statement By Chief Justice Nap of The Supporters' High Court · The Free Republic of Admiral Producer. ... <看更多>
supportmulan 在 ppicc shared a post on Instagram: “#Mulan #liuyifei # ... 的推薦與評價
Jun 20, 2020 - ppicc shared a post on Instagram: “#Mulan #liuyifei #SupportMulan #supportliuyifei #crystalliu #유역비#劉亦菲#刘亦菲#花木兰#花木蘭#ムーラ… ... <看更多>
supportmulan 在 #supportmulan - Explore | Facebook 的推薦與評價
#supportmulan · Alisa SeasongCrystal Liu Yifei Fan Club - 刘亦菲 · Liu Yifei Fans 刘亦菲粉丝后援会 · Yifei YijiarGorgeous Fairy Crystal Liu Yi Fei · Linluo ChanLiu ... ... <看更多>