最近我國政府宣布將在立陶宛設立台灣代表處(The Taiwanese Representative Office in Lithuania),但藍營立委說這個英文名稱恐有降格的問題。這是真的嗎?
今天, #國際限時批 專欄,就讓時代力量國際中心主任護台胖犬 劉仕傑來告訴大家,如何解讀台灣在全球的駐外館處名稱。
👉邦交國
台灣目前在全世界共有15個邦交國,包括中美洲4國(貝里斯、瓜地馬拉、宏都拉斯、尼加拉瓜)、加勒比海島國4國(海地、聖克里斯多福及尼維斯、聖露西亞、聖文森及格瑞那丁)、太平洋島國4國(馬紹爾群島、諾魯、帛琉、吐瓦魯)、南美洲1國(巴拉圭)、非洲1國(斯威士蘭)及歐洲1國(梵蒂岡)。
在上述邦交國內,我們會在當地的首都設立大使館(Embassy)。少數的邦交國,除了首都的大使館之外,為了因應商務或教育等業務的需求,我們還會在「首都以外的城市」設立總領事館(Consulate General)或領事館(Consulate)。
例如,台灣在宏都拉斯首都設立大使館之外,另外在宏國有駐汕埠總領事館。而台灣在巴拉圭首都設立大使館,另外在巴國東方市設立總領事館。
小結一下,在邦交國設立的駐外館處,會有兩種名稱:大使館(首都)、總領事館(非首都)。
👉非邦交國
因為台灣的外交情勢特殊,我們在全世界大多數的駐外館處,都屬於非邦交國,名稱則因各國情勢而有不同。
如果以中文名稱來說,台灣的駐外館處基本上分成兩種,在首都會稱為「代表處」,在首都以外的城市會稱為「辦事處」。
大家很常聽到的「駐美代表處」、「駐日代表處」、「駐大阪辦事處」或「駐紐約辦事處」,就是這個範疇。
但外交實務上,館處名稱基本上還是以英文為主。
以這次在立陶宛🇱🇹設處來說,我們的名稱是The Taiwanese Representative Office in Lithuania,中文翻譯為「駐立陶宛台灣代表處」。
許多媒體說,這是我們第二個在非邦交國設立以「台灣」為名的代表處,也是第一個在中國邦交國設立以「台灣」為名的代表處。
這個說法並不準確。
在非邦交國設立以「台灣」為名的第一個代表處,指的是索馬利蘭。我們在索國的館處全稱是Taiwan Representative Office in the Republic of Somaliland。在索國的名稱,我們用的是Taiwan,跟在立陶宛用的The Taiwanese不同。
當然,以中文來說,我國在索馬利蘭及立陶宛的館處,都稱作「台灣代表處」,英文縮寫也都是TRO,但T卻有不同的用法。
把立陶宛跟索馬利蘭相較,當然很不公平。
索馬利蘭在全世界沒有任何邦交國,這意思是索國跟中國也無邦交關係。台灣跟索國目前是相互設處,也未建交。我們在索國的名稱要寫上Taiwan,當然較無顧慮。
立陶宛則不一樣。中國跟立陶宛是邦交國關係,更別說中國的一帶一路(Belt and Road Initiative, BRI)政策近年來在中東歐地區意圖掠地攻城,試圖透過各種基礎建設投資拿下戰略灘頭堡。今天台灣在立國設處,當然會面臨許多來自中共的外交壓力。
也許大家會好奇,那我們在歐洲其他中國邦交國的館處,是怎麼稱呼呢?
基本上,歐洲各國的館處名稱還是會有不同之處。例如,台灣於英國、波蘭、斯洛伐克、歐盟及愛爾蘭等國的代表處,英文縮寫都是TRO,但這個T是Taipei,也就是Taipei Representative Office。
同樣都是TRO,在索馬利蘭是Taiwan Representative Office,在立陶宛是The Taiwanese Representative Office,在英國或愛爾蘭等國是Taipei Representative Office,一T各表。
如果以主權意涵來看,我自己會這樣排:Taiwan > (The) Taiwanese > Taipei。
也就是說,在立陶宛雖然我們不能用Taiwan,但比起英國或歐盟等其他國家用Taipei,事實上還是比較好的。藍營立委說這樣會降格?嗯,沒關係,也許有些人認為「九二共識」沒有降格😅
我國駐立陶宛代表處用了The Taiwanese,而不是Taiwan,想當然爾是為了降低來自中共的壓力,同時也是給立國政府一個斡旋的彈性空間,因為Taiwanese一詞本身有「台灣的」、「台灣人的」或甚至「台語」意思,用形容詞而非名詞,也讓立國政府在遵守所謂「一中政策」的同時,有一個解釋說法。
另外也跟大家補充一下,2018年6月27日,波蘭在台灣的駐外機構宣布更名,原本叫Warsaw Trade Office(華沙貿易辦事處),更名為Polish Office in Taipei (波蘭臺北辦事處)。
從Warsaw(首都城市名)變成Polish(國名,形容詞),當時的這個更名案外界咸認是一大突破,也代表台灣與波蘭的雙邊關係持續增進。
這樣解釋,大家清楚了嗎?
#立陶宛🇱🇹
#外交藏在細節裡
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過83萬的網紅serpentza,也在其Youtube影片中提到,My African friends are very unhappy, come and find out why... Stay Awesome China (my new documentary): https://vimeo.com/ondemand/stayawesomechina Di...
「the belt and road initiative」的推薦目錄:
the belt and road initiative 在 ลงทุนแมน Facebook 的最讚貼文
รู้จัก G7 ขั้วมหาอำนาจโลก ที่กำลัง แลกหมัดกับจีน /โดย ลงทุนแมน
1,228 ล้านล้านบาท คือ GDP ในปีที่ผ่านมา ของ 7 ประเทศ ในกลุ่ม G7 รวมกัน
2,620 ล้านล้านบาท คือ GDP ในปีที่ผ่านมา ของทุกประเทศในโลกรวมกัน
เท่ากับว่าขนาดเศรษฐกิจของเพียงแค่ 7 ประเทศในกลุ่มนี้
คิดเป็น “เกือบครึ่ง” ของขนาดเศรษฐกิจโลกในปีที่ผ่านมา
ทั้ง ๆ ที่มีประชากรรวมกันแค่ประมาณ 773 ล้านคน หรือประมาณ 10% ของประชากรโลกเท่านั้น
กลุ่ม G7 มีประเทศอะไรบ้าง เกิดขึ้นมาอย่างไร
แล้วทำไมถึงบอกว่ากำลังแลกหมัดกับจีน ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
แคนาดา
ฝรั่งเศส
เยอรมนี
อิตาลี
ญี่ปุ่น
สหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา
นี่คือรายชื่อ 7 ประเทศ ที่รวมตัวกันเป็น “Group of Seven” หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า กลุ่ม G7
ซึ่งถ้าเราลองไปเปิดดูตัวเลข GDP ของแต่ละประเทศ ทั้ง 7 รายชื่อนี้ จะอยู่ใน Top 10 ของประเทศที่ GDP มากสุดในโลก
และถ้าเอา GDP ของ 7 ประเทศมาบวกรวมกัน
ก็จะคิดเป็น 47% ของขนาดเศรษฐกิจโลก
นอกจากจะมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่กันทุกประเทศแล้ว
รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรในประเทศเหล่านี้
ก็ล้วนแล้วแต่อยู่แนวหน้าของโลกทั้งสิ้น
พูดง่าย ๆ ว่า นี่คือสมาคมประเทศร่ำรวย อย่างแท้จริง..
แล้วประเทศเหล่านี้ มารวมตัวกันได้อย่างไร ?
จุดเริ่มต้นของการก่อตั้งกลุ่มนี้อย่างเป็นทางการ ต้องย้อนกลับไปในช่วงปี 1973
ช่วงนั้นมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น นั่นคือ วิกฤติการณ์น้ำมัน หรือ “Oil Shock”
สรุปเหตุการณ์แบบคร่าว ๆ ก็คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น ไปมีปัญหากับกลุ่ม OPEC ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ของโลก
ปัญหาที่ว่าก็คือ 4 ประเทศนี้ ไปสนับสนุนอิสราเอล ที่กำลังทำสงครามกับกลุ่มชาติอาหรับ ที่ส่วนใหญ่แล้วก็เป็นสมาชิกกลุ่ม OPEC
พอเรื่องเป็นแบบนี้ กลุ่ม OPEC จึงระงับการส่งออกน้ำมันไปยังประเทศที่สนับสนุนอิสราเอล ทำให้ประเทศเหล่านี้เจอวิกฤติขาดแคลนน้ำมัน และราคาน้ำมันพุ่งสูงหลายเท่าตัวในช่วงเวลาไม่นาน ซึ่งทำให้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจในประเทศ ไปจนถึงระดับทวีป และระดับโลก เป็นปัญหาลูกโซ่ตามมา
ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำที่เริ่มลุกลามเป็นวงกว้างไปในระดับโลก
ทำให้ 6 ประเทศมหาอำนาจในตอนนั้น
ซึ่งประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักร, เยอรมนี (สมัยนั้นยังเป็น เยอรมนีตะวันตก), ฝรั่งเศส, ญี่ปุ่น และอิตาลี
จัดการประชุมร่วมกันอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรกในปี 1975
เพื่อหาทางขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกไปข้างหน้า
และตกลงกันว่า “เราจะมาร่วมหารือกันแบบนี้ทุก ๆ ปีต่อจากนี้”
อีกหนึ่งปีต่อมา มีอีกชาติมหาอำนาจเข้าร่วมกลุ่ม นั่นก็คือ แคนาดา
เป็นอันสรุปว่า Group of Seven หรือ G7 ครบองค์ประชุมตั้งแต่ปี 1976 เป็นต้นมา..
ในช่วงแรก ตัวแทนของแต่ละประเทศที่เข้าร่วมประชุม ยังเป็นเพียงแค่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
แต่หลัง ๆ มาเรื่องที่ประชุมกันแต่ละปี ไม่ได้จำกัดอยู่ที่เรื่องเศรษฐกิจเท่านั้น
ยังรวมไปถึงเรื่องความมั่นคงทางการทหาร, โรคระบาด, สุขอนามัย, การศึกษา ไปจนถึงปัญหาความยากจน และเรื่องที่กำลังเป็นประเด็นระดับโลกในแต่ละปี
ทำให้ต่อมา ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีในฐานะผู้นำประเทศ จะเป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุม
โดยในแต่ละปี กลุ่ม G7 ก็มักจะเชิญหลายประเทศนอกกลุ่ม และตัวแทนจากองค์กรระหว่างประเทศอย่าง EU, World Bank และ IMF ให้มาเข้าร่วมการประชุม ตามวาระที่สำคัญของช่วงเวลานั้น
เช่น ในปี 2008 มีการเชิญตัวแทนประเทศในเอเชียอย่าง เกาหลีใต้และอินโดนีเซีย ให้เข้าร่วม เพื่อแลกเปลี่ยนสถานการณ์เศรษฐกิจในเอเชีย
หรือในปี 2011 ที่มีการเชิญหลายประเทศในทวีปแอฟริกาอย่าง กินี, ไนเจอร์, โกตดิวัวร์ และตูนิเซีย ให้มาร่วมพูดคุยเรื่องปัญหาความยากจนในแอฟริกา
และล่าสุด การประชุม G7 ในปีนี้ ก็เพิ่งจัดขึ้นเมื่อ 11 มิถุนายน ที่ผ่านมาที่สหราชอาณาจักร
โดยสมาชิกในกลุ่มก็มีข้อตกลงร่วมกันในหลายเรื่อง อย่างเช่น
- ตกลงจะร่วมกันมอบวัคซีนอย่างน้อย 1,000 ล้านโดส ให้ประเทศรายได้ต่ำที่ต้องการวัคซีนเร่งด่วน
- เริ่มต้นผลักดันประเทศในกลุ่มและนอกกลุ่ม ให้มีการเก็บภาษีขั้นต่ำ 15% กับบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ เพื่อยุติปัญหาการหลบเลี่ยงภาษีผ่านการนำบริษัทไปจดทะเบียนในประเทศที่เก็บภาษีอัตราต่ำ
แต่เรื่องที่เป็นไฮไลต์สุดของการประชุมครั้งนี้
คือการเปิดตัวโครงการ “Build Back Better World” หรือ B3W
โครงการที่สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรในกลุ่ม G7 ใช้เป็นคำประกาศกร้าวว่า
จะไม่ยอมให้คู่แข่งคนสำคัญอย่าง “จีน”
ก้าวขึ้นมามีอิทธิพล หรือก้าวมาเป็นอีกขั้วมหาอำนาจโลกได้ง่าย ๆ
ก่อนหน้านี้เราได้ยินกันมาตลอด ว่าจีนมีโครงการ “Belt and Road Initiative” หรือ BRI
ซึ่งเป็นเหมือนการขยายอิทธิพลและสร้างพันธมิตรผ่านการไปร่วมลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในประเทศต่าง ๆ ตามเส้นทางสายไหมที่เคยรุ่งเรืองในอดีต จากตะวันออกของโลกคือจีน ไปสู่ฟากโลกตะวันตก
ส่วนโครงการ B3W ของสหรัฐอเมริกาและพันธมิตร G7 ก็จะเน้นเข้าไปมีส่วนร่วมและสนับสนุนการสร้างโครงสร้างพื้นฐานในกลุ่มประเทศรายได้น้อยถึงรายได้ปานกลาง ตั้งแต่ตะวันตก ลากยาวไปตะวันออก
และ G7 เคลมว่า B3W ของพวกเขา พิเศษกว่า BRI ของจีน
เพราะของที่สร้างโดยการสนับสนุนของ G7 จะมีคุณภาพกว่า
มีกระบวนการสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมกว่า
ไม่มีทุจริตคอร์รัปชัน สนับสนุนภาคเอกชนให้มีส่วนร่วม
ไม่มีเรื่องละเมิดสิทธิมนุษยชน สนับสนุนความเท่าเทียม และที่สำคัญคือสนับสนุนโดยกลุ่มนิยมประชาธิปไตย อย่าง G7..
ขณะที่โฆษกสถานทูตจีนประจำกรุงลอนดอน
ก็โต้กลับมติประชุมของกลุ่ม G7 ทันทีว่า
ให้เลิกกล่าวอ้าง กล่าวหาจีนในเรื่องต่าง ๆ เสียที
และยังโต้กลับในทำนองที่ว่า “มันหมดยุคที่โลกถูกนำโดยบางกลุ่มประเทศไปแล้ว”
จะเห็นว่า 2 ขั้วอำนาจโลกในตอนนี้ กำลังปล่อยหมัดหนักแลกใส่กันไปมา อย่างไม่มีใครยอมใคร
เพื่อไม่ให้อีกฝ่ายครองอำนาจโลกแต่เพียงผู้เดียวได้โดยง่าย
ฝ่ายหนึ่งคือกลุ่มมหาอำนาจโลกเดิมอย่าง G7
ที่ยังคงมีความสำคัญมากกับทั้งโลก ไม่ว่าจะเรื่องเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และขนบธรรมเนียมโลกแบบเดิมที่ทั่วโลกคุ้นชินมาหลายทศวรรษ
ส่วนอีกฝ่ายคือจีน ที่เป็นประเทศคู่ค้าของหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศในกลุ่ม G7 เอง และขนาดเศรษฐกิจของจีนกำลังจะขึ้นแท่นเบอร์ 1 ของโลกแซงหน้าสหรัฐอเมริกาในเร็ว ๆ นี้
ในขณะเดียวกันจีนก็กำลังเดินหน้าท้าชิงความเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม
และเดินหน้าสร้างพันธมิตร สร้างอิทธิพลตามแผนที่วางไว้
ปิดท้ายด้วยเรื่องที่น่าสนใจ
ในอดีต G7 เคยขยายเป็น G8 โดยอีกประเทศที่เพิ่มเข้ามาคือ รัสเซีย ที่เข้าร่วมตั้งแต่ปี 1997
แต่หลังจากที่รัสเซียทำการผนวกไครเมียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซีย ในปี 2014
ก็ทำให้ประเทศสมาชิกที่เหลือไม่พอใจ และไม่เชิญรัสเซียเข้าร่วมการประชุมอีกเลย..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://statisticstimes.com/economy/projected-world-gdp-ranking.php
-https://www.g7uk.org/what-is-the-g7/
-https://en.wikipedia.org/wiki/1973_oil_crisis
-https://www.blockdit.com/posts/60c89d166ea44e0c5adf9455
-https://thestandard.co/g7-summit-summary/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Group_of_Seven
-https://www.whitehouse.gov/briefing-room/statements-releases/2021/06/12/fact-sheet-president-biden-and-g7-leaders-launch-build-back-better-world-b3w-partnership/
-https://www.ndtv.com/world-news/small-groups-dont-rule-the-world-china-cautions-g7-2462751
the belt and road initiative 在 The Wild Chronicles - ประวัติศาสตร์ ข่าวต่างประเทศ ท่องเที่ยวที่แปลก Facebook 的最佳解答
*** สรุปประชุมจี 7: โควิด ภาษี โลกร้อน และการ “ต้านจีน” ***
ในการประชุมสุดยอดผู้นำประเทศเศรษฐกิจชั้นนำ 7 ประเทศ (จี 7) ประกอบด้วยแคนาดา, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, ญี่ปุ่น, สหราชอาณาจักร, สหรัฐอเมริกา และ สหภาพยุโรป ระหว่างวันที่ 11-13 มิ.ย. ที่ผ่านมา ที่ประชุมสรุปแถลงการณ์แบ่งได้ 4 ประเด็น ประกอบด้วย (1) เรื่องวัคซีนโควิด-19 (2) เรื่องภาษี (3) เรื่องสิ่งแวดล้อม และ (4) เรื่องประเทศจีน
1. ในระยะสั้น จี 7 รับปากจะจัดหาวัคซีนโควิด-19 จำนวน 1 พันล้านโดสให้แก่โครงการโคแวกซ์ของยูเอ็นเพื่อบริจาคให้ประเทศรายได้น้อยและปานกลางในอีก 12 เดือนข้างหน้า พร้อมทั้งจะช่วยอำนวยความสะดวกในการผลิตและขึ้นทะเบียนวัคซีน
ส่วนในระยะยาว จะเสริมสร้างระบบเฝ้าระวังโรคระบาดข้ามชาติโดยกรณีเกิดโรคระบาดใหม่ จะพัฒนาการตรวจและรักษาโรคให้สำเร็จภายใน 100 วัน
2. ผู้นำจี 7 ตกลงว่าจะจัดเก็บภาษีจากบริษัทเทคโนโลยีข้ามชาติยักษ์ใหญ่ เช่น เฟสบุ๊ค กูเกิล ขั้นต่ำที่ร้อยละ 15 แต่เชื่อว่าน่าจะมีปัญหาในการปฏิบัติ ตัวอย่างเช่น จะมีปัญหาความไม่ลงรอยในหมู่ประเทศในสหภาพยุโรปที่ก่อนหน้านี้ทำตัวเป็น “สวรรค์ภาษีต่ำ” มาช้านาน และในปี 2015 ก็เพิ่งเกิดกรณีอื้อฉาวเมื่อลักเซมเบิร์กถูกจับได้ว่าจงใจช่วยให้บริษัทจ่ายภาษีลดลง
3. ในด้านสิ่งแวดล้อม ผู้นำจี 7 มุ่งมั่นลดการปล่อยคาร์บอนลงร้อยละ 50 และ อนุรักษ์ หรือ คุ้มครองแผ่นดินและมหาสมุทรให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 30 ของโลกภายในปี 2030
นอกจากนั้นจะมีการจัดหางบ 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีเพื่อช่วยประเทศยากจนในการลดการปล่อยคาร์บอนและรับมือภาวะโลกร้อน และจะเลิกใช้รถยนต์ที่ใช้น้ำมันให้เร็วที่สุด แต่กลุ่มอนุรักษ์ยังมองว่าที่ผ่านมากลุ่มจี 7 ยังไม่เคยสามารถจัดงบส่วนนี้ได้ตามสัญญา และครั้งนี้ก็ไม่ยอมระบุกำหนดการเลิกใช้รถยนต์ที่ใช้น้ำมันและ การเลิกใช้ไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน
4. เหล่าผู้นำจี 7 ออกมาประสานเสียงต่อต้านจีน และยังเห็นชอบต่อแผนเศรษฐกิจที่เสนอโดยประธานาธิบดีสหรัฐ โจ ไบเดน ซึ่งจะจัดหางบประมาณแก่ประเทศกำลังพัฒนาเพื่อแข่งกับโครงการเงินกู้ เพื่อลงทุนและพัฒนาเส้นทางการค้าของจีน หรือที่เรียกว่า “ข้อริเริ่มเข็มขัดและเส้นทาง” (Belt and Road Initiative) (หรือที่เรียกกันลำลองว่า "เส้นทางสายไหมใหม่") แม้ว่ารายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการจัดหาทุนของแผนจี 7 ยังไม่ชัดเจน
นอกจากนี้ กลุ่มผู้นำยังออกแถลงการณ์ร่วมกันคัดค้านการใช้แรงงานบังคับในอุตสาหกรรมของจีน, เรียกร้องให้แก้ไขปัญหาระหว่างจีนกับไต้หวันอย่างสันติ, ผลักดันการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในซินเจียงและฮ่องกง, รวมทั้งจะให้มีการสอบสวนหาสาเหตุของโควิด-19 นำโดยองค์การอนามัยโลก “อย่างโปร่งใส”
ด้วยเหตุนี้ ฝ่ายทางการจีนจึงออกมาตอบโต้ว่า ชะตากรรมของโลกไม่ได้ตัดสินโดยไม่กี่ประเทศอีกต่อไป และระบุว่าแถลงการณ์ของจี 7 บิดเบือนข้อเท็จจริงและเต็มไปด้วย “เจตนาร้ายของบางประเทศ อย่างเช่นสหรัฐฯ”
::: อ้างอิง :::
- bbc (ดอต) com/news/world-asia-china-57458822
- theguardian (ดอต) com/world/2021/jun/13/g7s-carbis-bay-declaration-the-key-pledges
- aljazeera (ดอต) com/news/2021/6/13/g7-summit-what-have-the-wealthy-democracies-agreed-on
- bbc (ดอต) com/news/world-us-canada-57452158
- sg ดอต asiatatler (ดอต) com/society/everything-you-need-to-know-about-g7-summit-2021
- reuters (ดอต) com/world/china/china-cautions-g7-small-groups-dont-rule-world-2021-06-13/
- rte (ดอต) ie/news/business/2021/0609/1227092-european-corporate-tax-deal/
bbc (ดอต) com/news/science-environment-57462040
the belt and road initiative 在 serpentza Youtube 的最讚貼文
My African friends are very unhappy, come and find out why...
Stay Awesome China (my new documentary): https://vimeo.com/ondemand/stayawesomechina
Discount code: STAYAWESOME
For Motorcycle adventures around the world, and a talk-show on two wheels go to ADVChina every Monday 1pm EST
https://www.youtube.com/advchina
You CAN'T Tell the Difference Between Asians, Can You?
https://youtu.be/TJtlDe5ZGvg
For a realistic perspective on China and world travel from an American father and a Chinese mother with two half-Chinese daughters go to Laowhy86 every Wednesday 1pm EST
https://www.youtube.com/laowhy86
5 Things I HATE About My Chinese Wife
https://youtu.be/Y6hQRm3KwM8
For a no-nonsense on the street look at Chinese culture and beyond from China’s original YouTuber, join SerpentZA on Friday at 1pm EST
https://www.youtube.com/serpentza
Birth Tourism, why Chinese women pay TOP DOLLAR!
https://youtu.be/zaXtME82-gk
Support Sasha and I on Patreon: http://www.patreon.com/serpentza
Join me on Facebook: http://www.facebook.com/winstoninchina
Twitter: @serpentza
Instagram: serpent_za
![post-title](https://i.ytimg.com/vi/rlAb-Gfeoyk/hqdefault.jpg)
the belt and road initiative 在 China's Massive Belt and Road Initiative - Council on Foreign ... 的相關結果
The Belt and Road Initiative, reminiscent of the Silk Road, is a massive infrastructure project that would stretch from East Asia to Europe. ... <看更多>
the belt and road initiative 在 Belt and Road Initiative (BRI) - European Bank for ... 的相關結果
China's Belt and Road Initiative (BRI) (一带一路) is a strategy initiated by the People's Republic of China that seeks to connect Asia with Africa and ... ... <看更多>
the belt and road initiative 在 Belt and Road Initiative - Wikipedia 的相關結果
The Belt and Road Initiative (BRI, or B&R), formerly known as One Belt One Road (Chinese: 一带一路) or OBOR for short, is a global infrastructure ... ... <看更多>