"คลิป เทโค้กใส่เนื้อหมูดิบ-เอาพยาธิออกมา น่าจะเป็นคลิปหลอกครับ"
ช่วงนี้มีการแชร์คลิปวิดีโอหนึ่ง (ดูตัวอย่าง https://youtu.be/xQg0VRawBHs) เหมือนเป็นการทดลองของสาวฝรั่งคนหนึ่ง เอาเนื้อหมูที่เธออ้างว่าซื้อมาจากตามห้าง แล้วมาราดน้ำโคล่ายี่ห้อหนึ่งลงไป รอสักครู่ พบว่ามีตัวสีขาวๆ มุดขึ้นมาจากเนื้อหมู พอเขี่ยขึ้นมา ก็เหมือนเป็นหนอนพยาธิตัวยาวเลย !!
คลิปนี้่ทำเอาหลายคนตกอกตกใจ ไม่กล้ากินเนื้อหมูกัน เพราะถึงเอาไปทำให้สุกได้ ให้พยาธิตายได้ ก็ขยะแขยง
ถึงแม้ว่า "เนื้อหมูนั้นไม่ควรจะกินดิบๆ เพราะอาจจะมีเชื้อโรค หรือแม้แต่ตัวอ่อนพยาธิติดมาได้" แต่ๆๆ คลิปนี้มันมีจุดจับผิดได้ว่า เป็นคลิปหลอกที่ทำให้หวาดกลัวเกินจริงนะครับ
1. แม้ว่าจะดูเหมือนเป็นคลิปที่ถ่ายทำแบบต่อเนื่อง หรือที่เรียกว่า long take แต่ก็มีจังหวะที่ดูเหมือนมีการตัดต่อเกิดขึ้น
- โดยเฉพาะตรงนาทีที่ 2:36 ที่กล้องถ่ายกดลงไปที่จานเนื้อหมู แล้วแพนขึ้นไปที่หน้าของผู้หญิงคนนั้น ก่อนจะแพนกลับมาที่จานอย่างรวดเร็ว (ซึ่งเป็นเทคนิคที่นิยมใช้กัน เวลาตัดต่อเพื่อถ่ายทำให้คล้าย long shot)
- แถม จะสังเกตเห็นว่าตอนแรกเธอใช้มือซ้ายรองจานหมูไว้ แต่พอแพนขึ้นใบหน้า-แพนกลับลงมา กลายเป็นมือขวาที่ใช้รองจาน
- จึงเป็นไปได้ที่จะมีการตัด cut เอาชิ้นหมู่ มาจิ้มยัดหนอนลงไป ก่อนจะถ่ายทำต่อ
2. ลักษณะคลิปวิดีโที่มีการทดลอง "เทโคล่าลงเนื้อหมูดิบ แล้วมีหนอนพยาธิคืบคลานออกมา" นั้น มีอยู่อีกหลายคลิปในยูทูป และเผยแพร่กันมาหลายปีแล้ว ตั้งแต่ยังเป็นฟอร์เวิร์ดอีเมล์ด้วยซ้ำ (ตัวอย่างเช่น https://youtu.be/ydz9XCam-ME) ซึ่งทำให้หลายคนกังวลที่จะกินเนื้อหมู เพราะจะป่วยจากกินเอาพยาธิพวกนี้เข้าไปในร่างกาย
- แต่ไม่พบว่าคลิปวิดีโอที่โพสต์กันไว้เหล่านี้ จะมีหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้ว่าเป็นจริงตามนั้น และมักจะเป็นการตั้งใจสร้างคลิปหลอก-สร้างความหวาดกลัว หรือเป็นการเข้าใจผิดจากการที่ใช้เนื้อหมูที่คุณภาพต่ำ
- ในขณะเดียวกัน มีคลิปวิดีโออีกมากมาย ที่เอาเนื้อหมูมาทำเช่นนั้น และไม่พบว่ามีอะไรเกิดขึ้น
- การแช่เนื้อหมูหรือเนื้อสัตว์อื่นๆ ในน้ำโคล่า จะช่วยให้เนื้อนิ่มลงได้จากการที่โคล่ามีค่าพีเอชในระดับที่เป็นกรด เหมือนกับที่ไปแช่ในน้ำส้มสายชู ... แต่ถ้าแช่นานเป็นชั่วโมง ก็สามารถจะทำให้ไขมันและโปรตีนในเนื้อเกิดปฏิกิริยาทางเคมี จนเห็นเป็นสิ่งแปลกปลอม และอาจเข้าใจผิดว่าเป็นพยาธิได้
3. คลิปพวกนี้ มักจะอ้างถึงโรค ทริคิโนสิส (Trichinosis) หรือ ทริคิเนลโลสิส (Trichiniasis) ซึ่งเป็นโรคพยาธิ ที่เกิดจากการกินเนื้อหมูดิบ หรือปรุงไม่สุกดี หรือหมูที่เลี้ยงมาไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้ได้รับตัวอ่อนของพยาธิตัวกลมที่ชื่อว่า ทริคิเนลลา สไปรัลลิส (Trichinella spiralis)
- พยาธิชนิดนี้ แม้ว่ามักจะเรียกว่าเป็นพยาธิในเนื้อหมู แต่ก็พบในเนื้อของสัตว์อื่่นๆ อีกมากมาย ที่เป็นพวกสัตว์กินเนื้อ หรือสัตว์ที่กินทั้งเนื้อและพืช เช่น พวกสัตว์ฟันแทะ (หนู กระรอก กระต่าย ฯลฯ) ม้า หมี หมูป่า หมาจิ้งจอก หมาบ้าน หมาป่า แมวน้ำ วอลลัส ฯลฯ
- จากการที่โรคทริคิโนซิสและโรคอื่นๆ นั้นอาจติดต่อได้ผ่านทางการกินเนื้อหมูเลี้ยง จึงมีคำเตือนกันมานานแล้วว่าจะต้องทำให้เนื้อหมูสุกเสียก่อนที่จะนำมารับประทาน เพื่อให้มั่นใจว่าพยาธิและเชื้อโรคต่างๆ ได้ต่ายไปหมดแล้ว
- แต่ทางศูนย์ ซีดีซี (Centers for Disease Control หรือ CDC) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ได้ในข้อมูเกี่ยวกับโรคทริคิโนซิสว่า ปัจจุบันนั้น มีคนที่ติดโรคนี้น้อยลงมาก จนอยู่ในระดับที่หายาก โดยระหว่างปี ค.ศ. 2008-2010 (พ.ศ. 2551-2553) นั้นพบเฉลี่ยเพียงแค่ 20 รายต่อไป
- สาเหตุที่อุบัติการณ์ของโรคนี้มีลดลงมาก มาตั้งแต่ช่วงกลางคริสตวรรษที่ 20 นั้น เนื่องจากมีกฏเกณฑ์ที่ห้ามเอาเศษเนื้อดิบมาเลี้ยงหมู การนิยมแช่แข็งเนื้อหมู (ซึ่งทำให้ตัวอ่อนพยาธิตาย) โปรแกรมการตรวจสอบคุณภาพการเลี้ยงหมูและการจำหน่ายเนื้อหมู และการตระหนักของสาธารณชนถึงอันตรายจากการกินเนื้อหมูดิบ ทำให้จำนวนผู้ป่วยโรคนี้จากการกินเนื้อหมูดิบนั้นลดลง และส่วนใหญ่มันจะเป็นการเจ็บป่วยอันเนื่องจากกินเนื้อสัตว์ป่า (ที่ได้รับอนุญาตให้ล่าเป็นเกมกีฬา) ซึ่งไม่ได้ปรุงสุก
4. การนำเนื้อหมูมารับประทานนั้น ควรทำให้สุกถึงระดับอุณหภูมิปลอดภัย (safe temperature) จึงจะฆ่าพยาธิได้ ซึ่งอุณหภูมิปลอดภัยนี้จะแตกต่างกันสำหรับเนื้อสัตว์แต่ละอย่าง เราอาจจะใช้เทอร์โมมิเตอร์พิเศษสำหรับการจิ้มลงไปในเนื้อเพื่อวัดอุณหภูมิภายในของก้อนเนื้อด้วย
- ทางศูนย์ CDC แนะนำให้ใช้ระดับอุณหภูมิที่ 170°F (ประมาณ 77 องศาเซลเซียส) ในขณะที่แหล่งข้อมูลอื่นๆ บอกว่าระดับอุณหภูมิช่วง 140-150°F (ประมาณ 60-65 องศาเซลเซียส) นั้นเพียงพอที่จะฆ่าพยาธิทริคิเนลลา สไปรัลลิสได้ หรือถ้าเนื้อหมูมีขนาดไม่หนากว่า 6 นิ้ว (ประมาณ 15 เซนติเมตร) ก็เอาไปแช่แข็งที่อุณหภูมิตั้งแต่ 5°F ลงไป (ประมาณ -15 องศาเซลเซียส) เป็นเวลา 20 วัน
สรุป : การเอาเนื้อหมูดิบไปแช่นน้ำโคล่าเพื่อเอาพยาธิออกมานั้น เป็นฟอร์เวิร์ดเมล์มั่วที่หลอกกันมานานแล้ว และเนื้อหมูก็สามารถนำมาบริโภคได้ เพราะเป็นแหล่งของสารอาหารกลุ่มโปรตีนและวิตามินบีหนึ่ง (แต่ก็มีไขมันอิ่มตัวสูงด้วยนะ) โดยต้องเลือกซื้อเนื้อหมูที่มีคุณภาพดี สะอาด ปลอดภัย และต้องทำให้มั่นใจว่าได้ปรุงสุกเรียบร้อยแล้วกินที่จะกินครับ
ข้อมูลจาก http://www.hoaxorfact.com/health/pouring-coke-on-raw-pork-causes-worms-to-appear-hoax.html?fbclid=IwAR33w088iF8WwqTQg01diuBMOeYrqjuTn5YfR7sWI458-MH1VbMazgSJIQY
และ https://www.snopes.com/fact-check/coke-adds-life/?fbclid=IwAR2WDYsTMb6_yVXIztCpMB6SHFuulQItz5FHPq413wRNx5uiMjD1JX3D1Bo
--------------------
(เพิ่ม) ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคทริคิโนซิสในประเทศไทย (จาก http://niah.dld.go.th/th/AnimalDisease/pig_trichi.htm)
โรคทริคิโนซิสเป็นโรคที่ติดต่อจากสัตว์ถึงคน พยาธิตัวกลมที่ทำให้เกิดโรคนี้ คือ ทริคิเนลล่า สไปราลิส (Trichinella spiralis) พบได้มากสุด ในสัตว์กินเนื้อที่เป็นสัตว์ป่า เช่น หมูป่า รองลงมาเป็นสัตว์ที่ใช้ฟันแทะ เช่น หนู กระรอก
โรคนี้จะแพร่มาสู่คนได้โดยการกินเนื้อสัตว์ ที่มีตัวอ่อนของพยาธิในถุงหุ้มที่แฝงอยู่ในกล้ามเนื้อดิบๆ หรือสุกๆดิบๆ เช่น ลาบ แหนม หลู้ ก้อย น้ำตก จากนั้นพยาธิจะเข้าไปในร่างกาย ถูกย่อยในกระเพาะ ถุงหุ้มตัวพยาธิจะถูกย่อยออก ทำให้พยาธิออกมาเจริญเติบโต เป็นตัวเต็มวัยภายใน 2-3 วัน ซึ่งจะผสมพันธุ์กันในลำไส้เล็ก ออกลูกเป็นตัวอ่อนจำนวนมาก
พยาธิตัวอ่อนจะไชเข้าไปในระบบน้ำเหลือง และเข้าสู่ระบบหมุนเวียนโลหิต ในที่สุดจะแพร่ไปทั่วร่างกาย จากนั้นจะเข้าไปฝังตัวอยู่ตามกล้ามเนื้อต่างๆ กล้ามเนื้อที่พบมากคือกระบังลม กล้ามเนื้อตา กล้ามเนื้อที่อยู่ระหว่างกระดูกซี่โครง กล้ามเนื้อแก้ม ลิ้น และน่องนอกจากนี้ยังพบในอวัยวะอื่นของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้อหัวใจ ปอด สมอง ตับ ตับอ่อน และไต พยาธิตัวอ่อนที่ขดตัวอยู่ในกล้ามเนื้อจะสร้างถุงหุ้มหรือซิสต์ (cyst) ล้อมรอบและจะมีการจับตัวของหินปูน ใน 1 เดือนหลังการติดพยาธิ
ในประเทศไทย มีรายงานการระบาดของโรคทริคิโนซิสในคนเป็นครั้งแรก ที่อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในปี พ.ศ. 2505 จากนั้นมีรายงานการเกิดโรคเป็นครั้งคราวแทบทุกปี จนถึงปี พ.ศ. 2524 รวมเกิดโรค 44 ครั้ง มีจำนวนผู้ป่วย 2,046 ราย เสียชีวิต 70 ราย และจากปี พ.ศ.2525 ถึง ปี พ.ศ. 2545 มีการเกิดโรค 88 ครั้ง มีจำนวนผู้ป่วย 3,623 ราย เสียชีวิต 17 ราย พบการระบาดทุกภาคของประเทศไทยโดยเฉพาะทางภาคเหนือ มักพบในคนพื้นเมืองทางภาคเหนือซื้อหมูชาวเขาที่เลี้ยงแบบปล่อย นำมาฆ่า แล้วขายหรือแจกจ่ายกันไปทำอาหาร ทำให้พบผู้ป่วยครั้งละมากๆ
เนื่องจากโรคทริคิโนซีสเป็นโรคสัตว์ที่สามารถติดต่อถึงคนได้ โดยการบริโภคเนื้อสุกรหรือเนื้อสัตว์ชนิดอื่นที่มีพยาธิตัวอ่อนเข้าไป ด้วยวิธีการปรุงอาหารสุกๆ ดิบๆ เช่น ลาบ แหนม เป็นต้น ดังนั้นควรแนะนำให้ผู้อยู่ในพื้นที่เสี่ยงปรุงอาหารที่เป็นเนื้อสัตว์ให้สุกก่อนบริโภค ด้วยการต้มให้เดือดนาน 30 นาที ต่อเนื้อหนัก 1 กิโลกรัม จึงจะฆ่าพยาธิตัวอ่อนที่อยู่ในเนื้อได้
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「trichinella spiralis」的推薦目錄:
- 關於trichinella spiralis 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的精選貼文
- 關於trichinella spiralis 在 柴窯火腿製造所 Facebook 的最讚貼文
- 關於trichinella spiralis 在 走近動物園 Approaching the zoo Facebook 的精選貼文
- 關於trichinella spiralis 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於trichinella spiralis 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於trichinella spiralis 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於trichinella spiralis 在 Trichinella SPIRALIS - YouTube 的評價
trichinella spiralis 在 柴窯火腿製造所 Facebook 的最讚貼文
【為什麼豬肉建議全熟】#要看完才不會虛驚一場
當你在牛排店點一客牛排,店家可以隨你的喜好,幫你烹調出三分、五分熟等不同的熟度;但如果點的是豬排時,就只能選全熟,為什麼?
是因為豬比牛髒嗎?還是因為牛肉是空運進口的高級貨呢?都不是啦!
是因為:未煮熟的豬肉可能帶有旋毛蟲。豬旋毛蟲(Trichinella spiralis)是細小的線蟲,人類、豬、老鼠都是它的宿主。在感染的1星期內,可能會有腹痛、腹瀉、嘔吐等的腸胃道症狀;感染後2星期左右,幼蟲就會侵入肌肉之中,這時人體會開始出現肌肉疼痛、無力的症狀,也可能會開始發燒、倦怠等。
牛肉其實也有寄生蟲喔!牛肉絛蟲(Taenia saginata)的宿主是牛與人類。📝研究指出,將牛肉冷凍在足夠的低溫與時間條件下,也能夠將肉中的幼蟲殺死。
冷凍可以殺死豬肉的寄生蟲嗎?事實上是可以的。
但台灣人食用溫體豬、冷藏豬肉的習慣十分普遍,因此食用豬肉時,仍是以吃全熟為當。
全文網址:https://www.foodnext.net/news/newssafe/paper/4234585909
trichinella spiralis 在 走近動物園 Approaching the zoo Facebook 的精選貼文
【尊嚴】
江蘇常州淹城動物園因為債務糾紛
經費被課扣的情況下
將園內飼養的家驢活生生丟入老虎的展場
驢子在掙扎30分鐘後痛苦死去
影片被散佈到網路上引發廣大討論及爭議
所以今天就來說說
在現代動物園中
投餵活食是必要的嗎?
開頭直接說結論
「不必要」
接下來
將分為5點跟各位說明
為什麼不必要
甚至應該說得避免
1. 營養方面:
在營養需求方面,大多數情況下,動物園不需要為了動物健康選擇活體餵飼,未經處理的生肉、血可能含有許多細菌與寄生蟲,對於平時吃慣嚴格品管肉品的動物園動物來說,反而可能有健康上的疑慮。這也是動物園通常不會餵食豬肉的原因,處理不完善的生豬肉帶有旋毛蟲(Trichinella spiralis),容易引發下痢甚至造成呼吸困難,因此動物園一般都選擇餵食雞、牛、羊、馬的肉來維護動物健康。
※經提醒,有些蛇類需要新鮮的內臟供應來確保健康,但缺乏經驗者可能導致蛇隻受損,這部分操作除了將活鼠脫頸後再送入之外,也可以考慮讓經驗者在後場進行免去遊客牴觸。總之辦法是人想出來的,見招拆招正是動物園工作者的重要職責。
2. 動物福利方面:
很多人可能認為投餵活食,對於食肉獸而言是一種「激勵」,讓他們的精力有地方發洩,是符合動物福利的做法,但卻忽略了動物在過程中受傷的可能,國外動物園就發生過做為活餌的小白鼠將一窩蛇全搞死的大事件,而迴避了受傷的風險後,習慣圈養環境的動物可能也不期望活餌型式的餵食,也曾經發生過老虎被活鱒魚嚇得半死,連水池都不敢靠近的案例。再來,上面這些想法都忽略了「獵物」的福利,做為活餌的動物在死前需要經歷難以想象的焦慮、緊迫、痛苦,甚至食肉獸拙劣的狩獵技巧會將這一段時間無限延長,而這些是牠們原本所不必經受的,「死的有尊嚴」,是動物福利的重要體現,在連殺豬都講究迅速無痛的時代裡,又有什麼理由強迫動物做為活餌呢?
3. 動物行為需求方面:
看慣自然記錄片的人可能會說,肉食動物在野外都要經過捕獵才能獲取獵物,在動物園內飽食終日只會變成懶洋洋的病貓,但這邊需要釐清的是,「動物園並非野外」,再怎麼仿效自然仍有其極限,將大自然每天上演的那一套直接照搬到動物園顯然是不合適的,動物園內大多數動物在「保育」職能方面,承擔的工作是「保種」而非「放歸」,要實現讓動物回到原棲地的目標需要相當久的時間,園內動物並不急需這方面的技能。而因此保留的活動量,將通過行為豐富化的型式來消耗,比如休士頓動物園的羊肉船、北京動物園的肉用滑索以及許多動物園都有進行的「與老虎拔河」,通過這些方式,遊客將可以在較適當的情況下欣賞野生動物的力與美,理解行為背後的意義,而不是一位的追求「仿野生」。
4. 管理方面:
除了上面說過的健康疑慮、受傷風險之外,投餵活食可能帶來許多管理方面的問題,比如挑嘴的園內動物吃不乾淨,屍體在展區內腐爛生蛆,必須額外清理、遊客見狀開始投餵動物,展區內四處都是遺留的包裝袋之類的。但這都還算是小事,有研究指出,狩獵這一殺戮行為,會激發食肉獸體內的潛在因子,看到會動的東西就想方設法加以攻擊,即便有「串籠」也難以保證員工的安全,使得訓練停擺、人心惶惶。雖然該實驗沒有足夠的案例證實他們的假說,卻也提供我們一個訊息──動物園不需要投餵活食。
5. 動物園傳遞訊息方面:
再來就是給民眾的觀感問題,動物園是闔家遊憩的場所,並不是古羅馬的鬥獸場,即便排除其他一切因素,生命在眼前消逝的感覺並不是每個人都有辦法接受,動物的焦慮、痛苦會傳達給情感豐富的人,對作為教育設施的動物園而言,這樣的結果顯然與期望給予的不同,因此任何園內進行的活動,都需經過數不清的評估作業才能付諸實行,欠缺考慮的做法只會造成錯誤訊息的散播,像這次案例中,據說就是董事的專斷獨行,並未支會動物園領導,但中國動物園的領導大多也都是公家指派,缺乏相關專業,唯有從上到下,專業與不專業,園長到遊客,整個社會一同監督動物園,動物園才能真正發揮應有的效益。
一定很多人覺得
動物園每天都在出事
成天說要避免要進步
乾脆關一關不就解決所有問題
但我想說
引發這樣的爭論
也是動物園存在的理由之一
假設今天沒了動物園
誰會來關心驢子的福利、老虎的福利、遊客的福利和他們背後數不盡的錯綜路網?
就算有關心的人
也沒有合適的管道去了解、去討論
只會令這方面的鑽研停滯
就像上面說的
「整個社會一同監督動物園,動物園才能真正發揮應有的效益」
唯有了解才有關心
動物園的存在
正是讓人們主動思考這些問題的理由
──────────────────────────
圖片來自:
https://www.pinterest.com/pin/571535008940069601/
Bronx zoo
http://iansvivarium.com/forum/viewtopic.php?t=204
trichinella spiralis 在 Trichinella SPIRALIS - YouTube 的推薦與評價
Trichinella SPIRALIS. 26,631 views26K views. Apr 2, 2018. 310. Dislike. Share. Save. Maureen Richards Immunology & Microbiology. ... <看更多>