特斯拉正在研究透過分散式太陽能搭配儲能模式來革新現有電網調度技術。(02/17/2020 Electrek 、新浪新聞中心)
據Electrek報導,特斯拉正在研究「可擴展的分級能源分配網格」技術,這可能會徹底改變電網分配太陽能的方式。到目前為止,特斯拉的能源部門,主要涉及部署分散式太陽能發電和能源存儲資產。
但是去年,特斯拉CEO馬斯克表示,「特斯拉能源正在成為分散式全球公共事業,可能超過汽車業務」。特斯拉現在計劃優化所有的太陽能和能源資產,為用戶及電網獲取更多的價值。
Tesla is working on technology to revolutionize the electrical grid with distributed solar power (Fred Lambert
- Feb. 17th 2020 2:35 pm ET)
Tesla is working on technology for “a scalable hierarchical energy distribution grid” that could revolutionize how the electrical grid distributes solar power.
To date, Tesla’s energy division, Tesla Energy, mostly involved deploying distributed solar power and energy storage assets.
But last year, CEO Elon Musk said that “Tesla Energy is becoming a distributed global utility and could outgrow the automotive business“:
Tesla Energy is going to be a major part of Tesla’s activity in the future. And Tesla’s mission from the beginning has been to accelerate the advent of sustainable energy — that means sustainable energy generation and sustainable energy consumption in the form of electric vehicles.
Tesla plans to optimize all the solar and energy assets that it is installing at its customers’ homes in order to get as much value for them and the electric grid.
In a new patent application, Tesla describes the problem:
Despite the advantages associated with integrating grid-connected PV energy generation with onsite energy storage, there are a number of challenges that make it difficult to efficiently deploy and control such integrated systems, particularly on a large, distributed scale. For example, it is tremendously difficult to attempt to control large numbers of energy generation and/or storage systems installed at various sites (in various geographic locations) utilizing differing device types that may have different capabilities, differing grid requirements, differing weather conditions, differing energy pricing schemes, etc.
They explain that “there is a need for efficient, intelligent, adaptive control systems for energy generation and/or storage systems.”
In the new patent application, Tesla describes its new technology for “a scalable hierarchical energy distribution grid utilizing homogeneous control logic”:
Techniques are disclosed for implementing a scalable hierarchical energy distribution grid utilizing homogeneous control logic are disclosed that provide distributed, autonomous control of a multitude of sites in an energy system using abstraction and aggregation techniques. A hierarchical energy distribution grid utilizing homogeneous control logic is provided that includes multiple control modules arranged in a hierarchy. Each control module can implement a same energy optimization scheme logic to directly control site energy resources and possibly energy resources of sites associated with control modules existing below it in the hierarchy. Each control module can act autonomously through use a similar set of input values to the common optimization scheme logic.
Electrek’s Take
From my understanding, Tesla is trying to deploy systems to automate demand management in order to more accurately match it with its distributed energy assets, both generation (solar power) and storage (Powerwall), at scale.
With Tesla deploying more solar power, especially since introducing its subscription model that doesn’t require any money down and only monthly payments, much like a regular electric utility, the company is getting a lot of data that could help it optimize those systems.
This could lead to some new pricing models that could have a massive impact on the electric utility business.
完整內容請見:
https://electrek.co/2020/02/17/tesla-technology-revolutionize-electric-grid/
https://tech.sina.cn/2020-02-18/detail-iimxxstf2279456.d.html
♡
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「utility model patent」的推薦目錄:
utility model patent 在 北美智權報 Facebook 的最佳貼文
淨水器專利占半,小米還是手機公司嗎?
估計大多數人很難相信,靠安卓 (Android) 定制系統起家、憑低價智慧型手機出位的小米,居然有近一半獲得授權的實用新型專利 (Utility Model patent) 與「水處理或淨水器」相關。不過,這就是小米專利家底的真實現狀之一。截止2015年5月25日,小米已累計獲得的專利授權中,包括42件發明專利、96件實用新型專利和102件外觀設計專利。其中,在99件已獲得授權的實用新型專利中,有44件與水處理相關。
小米公司儼然要成爲一家「淨水器」公司了......
utility model patent 在 sittikorn saksang Facebook 的最讚貼文
ทรัพย์สินทางปัญญา
ทรัพย์สินทางปัญญาคืออะไร
ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทรัพย์อีกชนิดหนึ่ง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น นาฬิกา รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสังหาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สินที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นต้น
ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา
โดยทั่วๆ ไป คนไทยส่วนมากจะคุ้นเคยกับคำว่า "ลิขสิทธิ์" ซึ่งใช้เรียกทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท โดยที่ถูกต้องแล้วทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ที่เรียกว่า ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ไม่ใช่สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริงแล้ว ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมนี้ เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม ความคิดสร้างสรรค์นี้จะเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะเป็นกระบวนการ หรือเทคนิคในการผลิตที่ได้ปรับปรุงหรือคิดค้นขึ้นใหม่ หรือที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นองค์ประกอบและรูปร่างสวยงามของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ยังรวมถึงเครื่องหมายการค้าหรือยี่ห้อ ซื่อและถิ่นที่อยู่ทางการค้า ที่รวมถึงแหล่งกำเนิดสินค้าและการป้องกันการแข่งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม จึงสามารถแบ่งออกได้ดังนี้
- สิทธิบัตร (Paent)
- เครื่องหมายการค้า (Trademark)
- แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout - Designs Of Inegrated Circuit)
- ความลับทางการค้า (Trade Secrets)
- สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indicaion)
ความหมายของทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท
ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ลิขสิทธิ์ยังรวมทั้ง
สิทธิค้างเคียง (Neighbouring Right) คือ การนำเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดง เช่น นักแสดง ผู้บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ในการบันทึกหรือถ่ายทอดเสียงหรือภาพ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุดคำสั่งที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน
งานฐานข้อมูล (Data Base) คือ ข้อมูลที่ได้รับเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ
สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด
การประดิษฐ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับการทำให้รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงาม และแตกต่างไปจากเดิม
ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย
แบบผังภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบที่ทำขึ้น เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้า เช่น ตัวนำไฟฟ้า หรือตัวต้านทาน เป็นต้น
เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่
- เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ เป็นต้น
- เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
- เครื่องหมายรับรอง (Certificaion mark) คือเครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำ เป็นต้น
- เครื่องหมายร่วม (Colective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมาบบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จำกัด เป็นต้น
ความลับทางการค้า หมายถึง ข้อมูลการค้าที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป และมีมูลค่าในเชิงพาณิชย์เนื่องจากข้อมูลนั้นเป็นความลับ และมีการดำเนินการตามความสมควรเพื่อรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ
ชื่อทางการค้า หมาถึง ชื่อที่ใช้ในการประกอบกิจการ เช่น โกดัก ฟูจิ เป็นต้น
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทน แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และสามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์นั้น เช่น มีดอรัญญิก ส้มบางมด ผ้าไหมไทย แชมเปญ คอนยัค เป็นต้น
ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ๔ ฉบับ คือ
- พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
- พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ ท แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
เครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗
- พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗
- พระราชบัญญัติคุ้มครองแบบผังภูมิของวงจรรวม พ.ศ. ๒๕๔๓
นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีพันธกรณีตามการเจรจาทางาการค้าระหว่างประเทศ ที่จะต้องออกกฎหมายให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภท ต่อไปในอนาคต
ความตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า
(Trade Related Intellectual Property Rights : TRIPs)
ภูมิหลัง
๑. ประเทศสมาชิกความตกลงแกตต์ (ซึ่งต่อมาเป็นสมาชิกก่อตั้ง WTO ในปี ๒๕๓๘) ได้เจรจาจัดทำความตกลง TRIPs ในช่วงการเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัย (ปี ๒๕๓๗-๒๕๓๙) ซึ่งเป็นการนำกฎระเบียบเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาเข้ามาสู่ระบบการค้าหลายฝ่ายเป็นครั้งแรก จึงเกิดเป็นความตกลง TRIPs ภายใต้กรอบ WTO เพื่อกำหนดระดับของการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่ประเทศสมาชิก WTO แต่ละประเทศ จะต้องให้แก่ประเทศสมาชิกอื่น ๆ ความตกลงฯ ครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
· การใช้หลักการพื้นฐานของระบบการค้าและความตกลงทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างประเทศต่าง ๆ
· การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่เพียงพอ
· การใช้บังคับสิทธิทางทรัพย์สินทางปัญญาในแต่ละประเทศ
· การระงับข้อพิพาทด้านทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างประเทศสมาชิก WTO
· ระยะเวลาปรับตัวในช่วงการนำระบบใหม่มาใช้
๒. ขอบเขตความตกลง TRIPs
· ลิขสิทธิ์และสิทธิที่เกี่ยวข้อง
· เครื่องหมายการค้า รวมทั้งเครื่องหมายบริการ
· สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
· การออกแบบผลิตภัณฑ์
· สิทธิบัตร
· Layout-design (topographies) ของแผงวงจรรวม
· ความลับ รวมทั้งความลับทางการค้า
๓. ปัจจุบันการเจรจาภายใต้กรอบ WTO ในเรื่องสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการค้า เป็นการเจรจาในประเด็นตามมติของที่ประชุมรัฐมนตรีองค์การการค้าโลกครั้งที่ ๔ เมื่อปี ๒๕๔๔ ณ เมืองโดฮา ประเทศกาตาร์ (ปฏิญญารัฐมนตรีโดฮา) ดังนี้
๓.๑ ให้คณะมนตรีด้านสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการค้าหาทางแก้ไขปัญหาจากการออกมาตรการบังคับใช้สิทธิ (compulsory licensing) ตามที่ระบุไว้ในความตกลง TRIPs เพื่อให้ประเทศสมาชิกที่ไม่สามารถหรือมีความสามารถไม่เพียงพอในการผลิตยารักษาโรคสามารถซื้อยารักษาโรคในราคาถูกได้ ซึ่งความตกลง TRIPs ได้อนุญาตให้ประเทศสมาชิกออกมาตรการบังคับใช้สิทธิได้ตามความจำเป็น แต่จำกัดการใช้ดังกล่าวให้อยู่ภายในประเทศสมาชิกนั้นเท่านั้น ดังนั้น ในกรณีของยารักษาโรค ประเทศที่ไม่ใช่เจ้าของสิทธิบัตรยา จึงสามารถผลิตยาโดยไม่ต้องขออนุญาตจากเจ้าของสิทธิบัตร แต่ต้องผลิตเพื่อจำหน่าย/ใช้ในประเทศได้ในกรณีจำเป็นเท่านั้น
๓.๒ ให้เจรจาจัดทำระบบการแจ้งและจดทะเบียนพหุภาคีสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์สำหรับสินค้าไวน์และสุราให้เสร็จภายในการประชุมระดับรัฐมนตรีองค์การการค้าโลก ครั้งที่ 5 (5th MC) ในปี ๒๕๔๖ ทั้งนี้ความตกลง TRIPs มีข้อกำหนดให้คณะมนตรีฯเจรจาเรื่องนี้ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกต่อการคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์สำหรับสินค้าไวน์
๓.๓ คณะมนตรีฯพิจารณาการขยายความคุ้มครองระดับพิเศษสำหรับสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ให้ครอบคลุมสินค้านอกเหนือจากไวน์และสุรา โดยให้รายงานผลภายในสิ้นปี ๒๕๔๕
utility model patent 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的精選貼文
utility model patent 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
utility model patent 在 大象中醫 Youtube 的最佳解答
utility model patent 在 Taiwan Utility Model Patents 的相關結果
A utility model is a creation of technical ideas relating to the shape or structure of an article or combination of articles which occupies certain space, ... ... <看更多>
utility model patent 在 Utility model - Wikipedia 的相關結果
A utility model is a patent · While no international convention requires countries to protect utility models (unlike copyright, trade marks or patents) and they ... ... <看更多>
utility model patent 在 Utility models - WIPO 的相關結果
Similar to patents, utility models protect new technical inventions through granting a limited exclusive right to prevent others from commercially exploiting ... ... <看更多>