ทำไม สายลับ CIA จำเป็นต้องลงทุน ในสตาร์ตอัป? /โดย ลงทุนแมน
ในการต่อสู้แย่งชิงอำนาจระหว่างประเทศ
สิ่งสำคัญที่ตัดสินแพ้ชนะได้ คือ “ข้อมูล”
ใครถือข้อมูลในมือที่ถูกต้องแม่นยำมากกว่า
ย่อมวางแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่งได้
ถ้าพูดถึงองค์กรที่เกี่ยวกับการสืบหาข้อมูล ชื่อที่หลายคนนึกถึงคงจะเป็น “CIA”
โดยเราอาจเคยเห็นพวกเขาจากในข่าว หรือภาพยนตร์ฮอลลีวูด
แต่รู้หรือไม่ว่า CIA ก็ต้องมีการลงทุนเพิ่มขีดความสามารถของตัวเองเช่นกัน
เรื่องราวนี้น่าสนใจอย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
สำนักข่าวกรองกลาง หรือ Central Intelligence Agency (CIA)
เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญจากทั่วโลก ที่อาจเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา
ต้นกำเนิด CIA ต้องย้อนกลับไปช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
หลังจากการลอบโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ของกองทัพญี่ปุ่น ได้สร้างความเสียหายที่รุนแรงมาก
จึงทำให้สหรัฐอเมริกาตั้งหน่วยพิเศษชื่อว่า OSS เพื่อปฏิบัติภารกิจด้านข้อมูลข่าวกรอง ป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนั้นซ้ำอีก
ต่อมาถึงแม้สงครามโลกสิ้นสุดลง และ OSS ได้ถูกยุบไปแล้ว แต่ความขัดแย้งครั้งใหม่กับสหภาพโซเวียต กำลังค่อยๆ ก่อตัวขึ้นในรูปแบบของสงครามเย็น และสงครามตัวแทน
ดังนั้นเรื่องที่ทุกคนต้องการรู้ คือความเคลื่อนไหวของฝ่ายตรงข้าม ใครวางแผนหาผลประโยชน์ที่ประเทศไหน หรือกำลังผลิตอาวุธสะสมเอาไว้เท่าไร
ด้วยเหตุนี้ ในปี 1947 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจึงเห็นชอบกฎหมายความมั่นคงฉบับใหม่ ที่มีคำสั่งให้จัดตั้งหน่วยงานข่าวกรองคล้ายๆ กับ OSS ขึ้นมา ซึ่งก็คือ CIA นั่นเอง
โดย CIA ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติการแบบซ่อนเร้นในต่างประเทศ และรายงานผลตรงต่อทำเนียบขาว ไม่ต้องสังกัดอยู่ภายใต้กระทรวงใด
ซึ่งงานหลักของพวกเขาในช่วงแรก คือการวิเคราะห์ข้อมูล และแทรกแซงการเมืองหลายประเทศในภูมิภาคเอเชีย, แอฟริกา, ตะวันออกกลาง, ลาตินอเมริกา เพื่อรักษาอิทธิพลในพื้นที่ ให้อยู่เหนือกว่าสหภาพโซเวียต
จนกระทั่งสหภาพโซเวียตล่มสลาย CIA ก็ได้หันมาเน้นศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแผนก่อการร้ายมากขึ้น โดยเฉพาะหลังจากที่เกิดกรณี 9/11
ปัจจุบัน CIA มีสายลับอยู่ราว 22,000 ราย และพนักงานทั่วไปอีก 35,000 ตำแหน่ง
โดยได้รับงบประมาณจากรัฐบาลกลาง 397,000 ล้านบาทต่อปี
อย่างไรก็ตาม การสืบหาข้อมูลแบบเชิงลึก คงไม่สามารถใช้กำลังคนเพียงอย่างเดียวได้ แต่ต้องพึ่งพาการลงทุนในเทคโนโลยีด้วย
เมื่อไม่นานมานี้ หนังสือพิมพ์ Washington Post เปิดเผยข้อมูลว่า ในอดีต CIA เคยเป็นเจ้าของบริษัทสัญชาติสวิสแห่งหนึ่งชื่อว่า Crypto AG อย่างลับๆ
โดยร่วมมือกับ BND หน่วยข่าวกรองของเยอรมนี ซื้อกิจการบริษัทด้วยเงิน 5.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 1970 หรือคิดเป็นค่าเงินปัจจุบันราว 1,200 ล้านบาท
ก่อนที่ 23 ปีต่อมา จะเหลือ CIA ถือหุ้นอยู่แค่รายเดียว และสุดท้ายบริษัทก็ได้ปิดตัวลงไปเมื่อปี 2018
Crypto AG เป็นผู้ผลิตเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารแบบเข้ารหัส ซึ่งมีฐานลูกค้าหลายกลุ่มอยู่ใน 120 ประเทศ ทั้งสถานทูต กองทัพทหาร และบริษัทเอกชน
แต่ความจริง นี่คือโครงการลับที่ทำให้ CIA สามารถดักฟังข่าวกรองได้จากทั่วทุกมุมโลก
นอกจากนั้น ในยุคที่การติดต่อสื่อสารพัฒนารูปแบบไปสู่โลกออนไลน์ ทำให้ CIA ต้องคอยลงทุนเพื่อให้มีเทคโนโลยีนำหน้าคนอื่นอยู่ตลอดเวลา
In-Q-Tel เป็นบริษัทกองทุนแนว Venture Capital แบบไม่แสวงหาผลกำไร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1999
โดยบริษัทมีวัตถุประสงค์เพียงอย่างเดียว คือการลงทุนในสตาร์ตอัปต่างๆ เพื่อป้อนเทคโนโลยีทันสมัยที่สุด ให้ CIA นำไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวกรอง
ซึ่งเงินทุกๆ 1 บาท ที่ In-Q-Tel เข้าลงทุนสตาร์ตอัปใดก็ตาม มักจะดึงดูดเงินบริษัทเอกชนรายอื่นตามมาลงทุนด้วยอีกถึง 9 บาท ทำให้กองทุนนี้กลายเป็นเหมือนผู้นำเทรนด์ของอุตสาหกรรม
ในปี 2014 มีรายงานเปิดเผยว่า CIA สนับสนุนเงินทุนให้แก่ In-Q-Tel ราว 1,200 ล้านบาทต่อปี และกองทุนมีทรัพย์สินภายใต้การบริหารอยู่ 10,000 ล้านบาท
จนถึงปัจจุบัน พวกเขาระดมทุนให้สตาร์ตอัปทั้งหมด 190 บริษัท และทำการขายหุ้น หรือที่เรียกว่า Exit ไปแล้ว 62 ครั้ง
ตัวอย่างการลงทุนที่ประสบความสําเร็จของ In-Q-Tel คือการถือหุ้นบริษัท Keyhole ผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาแผนที่จากภาพดาวเทียม ซึ่งต่อมา Google ได้เข้าซื้อกิจการ และต่อยอดจนกลายเป็นบริการ Google Earth
ทั้งนี้ในช่วงหลัง บริษัทได้หันมาเน้นลงทุนเทคโนโลยี ที่ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลบนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ส่วนอีกเรื่องที่หลายคนอาจสงสัยมานาน
นั่นคือ CIA กับ FBI แตกต่างกันอย่างไร?
สำนักงานสอบสวนกลาง หรือ Federal Bureau of Investigation (FBI)
สังกัดอยู่กระทรวงยุติธรรม มีหน้าที่วิเคราะห์ข่าวกรองและดูแลความมั่นคงภายในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น
ขณะที่ CIA จะเน้นปฏิบัติการแบบลับๆ ในต่างประเทศ
ซึ่ง FBI มีเจ้าหน้าที่อยู่ราว 16,000 ราย และพนักงานทั่วไปอีก 22,000 ตำแหน่ง
โดยได้รับงบประมาณจากรัฐบาล 300,000 ล้านบาทต่อปี
สรุปแล้ว CIA เป็นคนละหน่วยงาน และมีขนาดใหญ่กว่า FBI ทั้งในด้านกำลังคนและเม็ดเงิน
พออ่านเรื่องนี้จบ หลายคนอาจเริ่มกังวลถึงความเป็นส่วนตัวในชีวิตที่ลดน้อยลง
เพราะทุกวันนี้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ทำให้ข้อมูลส่วนตัวถูกเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็วมาก
แต่อย่างไรก็ตาม มนุษย์คงยังไม่สามารถหลีกเลี่ยงโลกออนไลน์ได้ 100%
ลองนึกภาพว่าเราไม่ใช้งาน Facebook, Google, Twitter, YouTube เลย
วันพรุ่งนี้อาจไม่รู้ว่าคนรอบข้างพูดคุยเรื่องอะไรกัน
และถ้าเรายังคงใช้งานแพลตฟอร์มเหล่านั้นต่อไป เพื่อก้าวให้ทันความเคลื่อนไหวของสังคม
สิ่งที่จะต้องแลก ก็คือข้อมูลส่วนตัว
ที่ตกไปอยู่ในมือบริษัทเจ้าของแพลตฟอร์ม หรือแม้แต่ CIA..
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://en.wikipedia.org/wiki/Central_Intelligence_Agency
-https://www.statista.com/statistics/283544/budget-of-the-us-central-intelligence-agency/
-https://www.businessinsider.com/cia-secretly-bought-encryption-company-crypto-ag-spy-countries-report-2020-2
-https://en.wikipedia.org/wiki/Crypto_AG
-https://en.wikipedia.org/wiki/In-Q-Tel
-https://news.crunchbase.com/news/heres-20-q-tel-investments-said-taking-cias-money/
-https://www.gaia.com/article/what-is-cia-in-q-tel
-https://www.crunchbase.com/organization/in-q-tel#section-investments
-https://www.diffen.com/difference/CIA_vs_FBI
-https://en.wikipedia.org/wiki/Federal_Bureau_of_Investigation
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
washington post wiki 在 北歐心科學 NordicHearts Facebook 的精選貼文
[必看]
網上一面倒支持朱西伯格,恥笑老人家不懂科技。不,是你不懂政治,被傳媒玩弄了也不知道。薑,還是老的辣。我也佩服部份議員,雖不完全明白科技,也能問出關鍵私隱問題。
我也舉個例,夏威夷的Schatz議員,問了whatsapp 有否algorithm 可以與facebook 溝通,當你用whatsapp講黑豹時,就在你facebook 顯示黑豹廣告。朱西回答,whatsapp對話是加密的,facebook看不到whatsapp內容,網媒該恥笑議員不懂科技。但其實朱西很巧妙地避過問題,因為儘管whatsapp 傳訊已加密,但一來whatsapp 公司有key可隨意解密,二來程序可以在你傳訊之前,將你的興趣關鍵字轉發,再用ip確認你facebook用戶,這些技術上都是可能的,但朱西避而不答。
以下分享兩位台灣網友的意見,總結了聽證會的精華,必讀。
=======
盲眼的尼安德塔石器匠:
【分享 祖克伯的聽證會,到底講些什麼?】
大家都用臉書這個平台,前兩天的大事是,臉書老闆 Mark Zuckerberg 到美國國會參加聽證會,面對排山倒海的質疑。
《牛津報告(一):台灣內部的社群網戰,選戰及假新聞》
http://neanderthaldna.pixnet.net/blog/post/217178292
最近幾年,網路安全是很嚴肅的世界性大事,而且科技與事態都不斷變化。你可以開開玩笑,笑老人家不懂網路之類的,但是笑完還是要嚴肅看待相關議題。
然後我嚇死惹,台灣竟然有一家名字有「科技」網路媒體,下這個標題:
「Mark Zuckerberg 贏了聽證會,參議員敗在沒有基本常識」
我的媽呀,除惹自己造假不承認,還想抵賴給學生的中研院生化所前所長陳慶士以外,這裡很少罵人,但是下這種標題......誰敢看你這種沒有知識的網路媒體?
《台灣該學習俄大的調查精神 — 報告說只有陳慶士竄改》
http://newcongress.tw/?p=13176
還好有好心人整理,大家可以一起來看看,到底這場聽證會的內容是什麼。說真的,這些問答沒那麼容易看懂,很多部分也很值得思考。畢竟,我們都是網路重度使用者,深受影響。
笑議員是老人家,不懂網路的小粉紅,應該只看得懂那些人上了年紀,卻不知道人家都是民意代表,背後是一大堆選民,與專業人士的支持吧?
加油好嗎~ 🍎 教主賈伯斯要是還活著,也是 62 歲的老人家惹。
話說回來,台灣要是有類似的場合......不敢多想,好恐怖。
聽證會 Day2 結束一些心得,加上兩天看下來一點自己的總結
Day2 問題平均犀利很多,也冒出更多面向的問題,底下整理些我記得算有趣的對話
有少數幾位議員特別針對 FB 在使用者允許的情況之外或 logoff 的狀況仍蒐集的個人資訊,其中 Castor 議員(https://en.wikipedia.org/wiki/Kathy_Castor) 算是逼問得最犀利的,當然 Zuckerberg 對於這類問題的回答大多中規中矩,譬如說這是安全考量或務實考量,技術上本來就會做這些事,或是登入之後本來就有很多需要 opt-in 或可控的權限,但是 Castor 有明確指出一點,就是「非科技使用者」很難真正意識到我到底有哪些資訊正在被分享、我同意了哪些東西、同意了會有什麼後果。
Sarbanes 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/John_Sarbanes) 特別挑出 16 年大選在 Facebook 上兩黨的廣告刊登數跟廣告方案規模明顯差距的問題,並質疑 Facebook 的廣告銷售團隊在接洽兩方時是否產生差別待遇。
McNerney 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/Jerry_McNerney) 劈頭就講「拎北數學家啦」要 Zuckerberg 不要想呼攏他,他提出問題也很細節,詢問是否 FB 針對個人的下載個資功能真的有包含所有資訊,怎麼沒看到與 FB 相關的網頁瀏覽紀錄,Zuckerberg 這邊答錯,後面還臨時提出修正,跟團隊確認後表示「我們只暫存瀏覽紀錄,它會轉換成對應的廣告偏好資訊,而廣告偏好資訊才能被下載」
McKinley 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/David_McKinley) 是這兩天來第一個用此角度切入的議員:FB 上非法藥品訊息提供與買賣問題嚴重 (而且這不是廣告商,是單純有人就在自己牆上貼文說我要賣藥)。Zuckerberg 在這段是兩天內極少數幾乎無法回話的情況,真的是被釘在板子上打。後面 Carter 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/Buddy_Carter) 也追著這問題打,並把問題延伸到 IP 盜版、動物盜獵團體使用 FB 交換資訊方面。
Luján 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/Ben_Ray_Luj%C3%A1n) 追打個人資訊追蹤議題,這個昨天有另一個議員提到但是問得沒那麼清楚,但是都點到了一個名詞 "shadow profile" (指在未登入 FB 情況下,FB 仍會追蹤你的瀏覽行為來建立一個非正式的 profile),所有事後評論的科技線記者都一致表示 Zuckerberg 證言表示它不熟悉這個名詞實在太詭異了,這是所有熟悉社群平台的人應該都聽過的東西。而且議員現場 demo 了一個操作流程「未登入情況下,我若叫 FB 幫我打包它所追蹤我的資料,FB 會要求你先註冊一個帳號才能進行打包下載」,而這點被拿出來批 Zuckerberg 這兩天一直強調「所有人都保有他們資料的所有權」,但其實 FB 不但在未經同意情況下紀錄瀏覽資訊 (不論目的),而且實際上你就是會有部分資料不在你能取得或刪除的範圍裡。
Bucshon 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/Larry_Bucshon) 舉出「日常真人對話中提到的東西,隔天莫名其妙在 FB 廣告上出現了」的案例來質問 Zuckerberg。這邊很難證實到底是什麼情況,雖然絕大部分應該是巧合。但是不可否認,當你看到明明是戴著口罩的人在 FB 人臉辨識中還是能被辨識出來,或者是我只是在 Messenger 對話中提到某個非 FB 朋友的手機號碼,隔天居然就出現朋友推薦,這種經驗應該不少人有過。這議題除了陰謀論地討論「FB 到底收集哪些資訊」之外,更有價值的討論是「就算 FB 能知道這項資訊,它到底該不該對其做出反應」。類似幾個月前被討論到的,性工作者為了生活考量進行身分隔離,但是在 FB 上還是被當作朋友推薦出去的問題。
另外被不少議員提出,有關 FB 簽過 2011 年 FTC Consent Decree 的問題,Ruiz 議員 ( https://en.wikipedia.org/wiki/Raul_Ruiz_(politician) ) 質疑為何 2015 年知道劍橋分析事件後為何沒有向 FTC 回報,認為是否規定太寬鬆,或是沒有明確罰則讓 FB 覺得這件事重要性不在第一順位。
整個兩天會議中,Mullin 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/Markwayne_Mullin) 是唯一一位用「你覺得使用者是否對於把關自己的隱私有部分責任?」來開場的議員,可惜我覺得他後面的問話蠻無聊的。
Walters 議員 (https://en.wikipedia.org/wiki/Mimi_Walters) 是聽證會上少數用實際 screenshot 來質問「這樣的隱私控制 UX 設計好不好」的人;當然這邊提出的問題非常基本,所以似乎不少人在笑說這是議員請 Zuckerberg 做 tech support 嗎,但是不可否認的這種 UX 問題確實存在。
劈頭就幾乎想對著 Zuckerberg 開罵的 Dingell 議員(https://en.wikipedia.org/wiki/Debbie_Dingell),質問 Zuckerberg 怎麼可能連 shadow profile 都不知道,過去幾件 FB 被人告過的隱私爭議事件 Zuckerberg 大多也含糊帶過,FTC 能不能罰錢也不知道。然後接著丟出一些她自己團隊大概估計出的一些統計數據(在 FB 外的 Like 按鈕被掛出去了總共多少個?),弄得像機智搶答一樣,Zuckerberg 全部以「我會請我的團隊告訴你」回答。
* * *
兩天下來大體上除了少數來亂的議員,主體當然是在追問劍橋分析事件的後續處理結果、使用者權限控管、言論與廣告審查(特別是政治性誤判與仇恨言論誤判問題)、各種隱私或網路平台監管法令設立與否或設立方式的問題。其實很多重複的問答,Zuckerberg 有時基本上是用接近播錄音帶的方式在反覆回答雷同問題。
可以看見的是法令規範的跟進似乎是大部分議員的看法(少數右派議員仍認為不應監管),蠻有趣的是 Washington Post 科技線記者的反應似乎覺得立法聲量還是不集中或不夠力。受到歐盟個資法 GDPR 影響,感覺上不太可能在未來美國什麼相關的法令都不跟進,而其實就算不跟進,如 FB 這樣的跨國平台仍會因為 GDPR 影響而把相關功能 roll out 到全球。
能觀察到的輿論風向趨勢有一點我覺得值得注意,就是以前平台經營者最喜歡用的一招「我們只提供通路跟平台,內容有問題不是我們的錯」實際上可能會漸漸演變為平台商會被要求連帶責任,而且可能不會只有協助處理或道歉的責任,在相關法令設令後,這個責任將會擴及民事賠償甚至刑事責任的可能性也是存在的。
而昨天分享過的文章提到 GDPR 影響下,網路平台對待 one-time user / logged-off user / partial user 能做的事情只會減少不可能增加,新興服務或既有服務的商業模式衝擊應該是必然,只是依照營運模式衝擊大小的差別不同而已。各類社群平台或是依賴廣告資訊、使用者資訊間接營利的產品都會受到更高的標準要求。
washington post wiki 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
washington post wiki 在 大象中醫 Youtube 的最讚貼文
washington post wiki 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
washington post wiki 在 Washington Post (disambiguation) - Wikipedia 的相關結果
The Washington Post is a daily newspaper published in Washington, D.C., United States. Washington Post may also refer to: Graham Holdings Company the former ... ... <看更多>
washington post wiki 在 The Washington Post: Breaking News, World, US, DC News ... 的相關結果
Breaking news and analysis on politics, business, world national news, entertainment more. In-depth DC, Virginia, Maryland news coverage including traffic, ... ... <看更多>
washington post wiki 在 The Washington Post - Wikipedia 的相關結果
The Washington Post is an American daily newspaper published in Washington, D.C. It is the most-widely circulated newspaper within the Washington ... ... <看更多>